Page 39 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
3) ดินส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชุดดิน 62 เนื้อที่ 315.20 ไร่ หรือร้อยละ 53.35 ของพื้นที่
โครงการ เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาด
ชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา ส ารวจและจ าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มี
ความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษา ส าหรับการเกษตร มีความรองลงมาเป็นกลุ่มชุดดิน
47D เป็นดินตื้น ดินเป็นพวกดินเหนียว สีน้ าตาล สีเหลืองและสีแดง ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ เนื้อที่
275.57 ไร่ หรือร้อยละ 46.65 ของพื้นที่ทั้งหมด
4) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดินส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชุดดิน 62 ความอุดมสมบูรณ์ต่ า
ปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (1.0เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
ประโยชน์ต่ า (7 และ 27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ) ดินเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3) ส่วนกลุ่มชุดดิน
47D มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปริมาณอินทรียวัตถุ (0.8เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และ
ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ต่ าต่ า (10 และ 25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ) ดินเป็นกรดจัด (ค่า
pH 5.3)
5) เกษตรกรที่ร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นชาวไทยพื้นราบ จ านวน 94 ราย เอกสารสิทธิ์
เป็น ส.ป.ก. การใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด (93 เปอร์เซ็นต์) รองลงมาเป็นทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม
(4 เปอร์เซ็นต์)
โดยสรุปการวิเคราะห์พื้นที่เพื่อด าเนินงานกิจกรรมการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าใน
พื้นที่เป้าหมายสภาพภูมิประเทศมีความลาดชัน ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า มีปัญหาการชะล้าง
พังทลายของดิน เกษตรกรปลูกพืชไร่เป็นหลัก ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า เกษตรกรให้ความร่วมมือในการ
ปฏิบัติงานดี เอกสารสิทธิ์เป็นสปก. จึงควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่เมื่อเกษตรกรมีความ
จ าเป็นต้องใช้ประโยชน์ที่ดินต่อไป เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความ
ยั่งยืน