Page 112 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 112

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        101


                  แล้วจ่านวน26–30 ลิตร คน 10-15 นาที เทลงในวัตถุดิบและคลุกเคล้าให้ทั่ววัตถุดิบอย่างสม่่าเสมอ และปรับ

                  ความชื้นกองปุ๋ยประมาณ 40 – 50 เปอร์เซ็นต์
                                  3. ตั้งกองปุ๋ยหมักเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้มีความสูงไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร และใช้วัสดุ

                  คลุมเพื่อรักษาความชื้นหลังจากหมักประมาณ 3 วัน อุณหภูมิภายในกองจะสูงขึ้น45–55 องศาเซลเซียส

                                  4. กลับกองทุก 5 วัน  หมักกองปุ๋ยเป็นเวลาประมาณ 9 – 12 วัน หรือจนกระทั่งอุณหภูมิ
                  ภายในกองปุ๋ยมีอุณหภูมิเท่ากับภายนอกกอง  ขึ้นกับขนาดกองปุ๋ย

                                  5. ใส่จุลินทรีย์ซุปเปอร์ พด.  9 และสารเร่งซุปเปอร์ พด.3 อย่างละ 1  ซอง คลุกเคล้าให้ทั่ว
                  กองและหมักไว้เป็นเวลาประมาณ 3 วัน  จึงน่าปุ๋ยไปใช้ได้

                       11.3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรไนโตรเจน และฟอสฟอรัส (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน, 2551)
                             พืชแต่ละชนิดต้องการปริมาณธาตุอาหารที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาการเจริญเติบโต  ดังนั้น

                  การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงควรค่านึงถึงความต้องการปริมาณและชนิดของธาตุอาหารในแต่ละช่วงเวลา

                  ของการเจริญเติบโตของพืช  รวมทั้งความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วย การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่มีปริมาณ
                  ธาตุอาหารหลักแต่ละชนิด ได้แก่  สูตรไนโตรเจนสูงและฟอสฟอรัสสูง  เพื่อให้การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ได้ตรงตาม

                  ความต้องการของพืชและความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งจะท่าให้ประหยัดการใช้ปุ๋ย ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต

                  โดยส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดินกรพัฒนาที่ดินได้ศึกษาและได้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจนและสูตร
                  ฟอสฟอรัส โดยมีรายละเอียด ดังนี้

                             11.3.1 ส่วนผสมและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรไนโตรเจน
                                    1. การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรไนโตรเจน 100 กิโลกรัม  ประกอบด้วยกาก

                  เมล็ดถั่วเหลืองหรือปลาป่น 60 กิโลกรัม  มูลสัตว์ 40 กิโลกรัม  สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ่านวน 1 ซองและสาร
                  เร่งซุปเปอร์ พด.2 ที่ขยายเชื้อในกากน้่าตาล 26– 30 ลิตร

                                    2. ผสมกากเมล็ดถั่วเหลืองหรือปลาป่นและมูลสัตว์  ตามส่วนผสมให้เข้ากัน

                                    3. น่าสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ่านวน 1 ซองเทลงในสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ที่ขยายเชื้อแล้ว
                  จ่านวน 26 –30 ลิตร  คนประมาณ 5 -10 นาที  เทลงในวัตถุดิบและคลุกเคล้าให้ทั่ววัตถุดิบอย่างสม่่าเสมอ

                  และปรับความชื้นให้สม่่าเสมอทั่วทั้งกองประมาณ 40 – 50 เปอร์เซ็นต์
                                    4. ตั้งกองปุ๋ยเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้มีความสูงประมาณ 30 – 50 เซนติเมตร แล้วใช้วัสดุ

                  คลุมกองให้มิดชิด  เพื่อรักษาความชื้นในกองปุ๋ยระหว่างการหมักกลับกองปุ๋ยทุก 5 วัน ควบคุมความชื้นให้

                  เหมาะสม
                                    5. หมักเป็นเวลาประมาณ 10 – 15 วัน หรือจนกระทั่งอุณหภูมิภายในกองปุ๋ยมี

                  อุณหภูมิเท่ากับภายนอกกอง  ขึ้นกับขนาดกองปุ๋ย  จึงน่าไปใช้  ซึ่งมีปริมาณธาตุอาหารหลักประกอบด้วย
                  ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม  เท่ากับ 4.0 – 5.0,  3.0  –  4.0  และ  1.0  –  2.0 เปอร์เซ็นต์

                  ตามล่าดับ

                             11.3.2 ส่วนผสมและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส
                                    1. การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส 100 กิโลกรัม ประกอบด้วยหิน

                  ฟอสเฟต 80 กิโลกรัม  ปุ๋ยหมัก 10 กิโลกรัม  ร่าข้าว 10 กิโลกรัม และจุลินทรีย์ซุปเปอร์ พด.9 จ่านวน 1 ซอง
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117