Page 108 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 108

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         97


                  เปอร์เซ็นต์  มีค่าธาตุแมกนีเซียมตั้งแต่ 0.18 – 0.55 เปอร์เซ็นต์ และมีค่าธาตุก่ามะถันตั้งแต่ 0.041 – 0.10

                  เปอร์เซ็นต์
                         10.2 ปรับปรุงสมบัติของดิน

                               จากการใช้ปุ๋ยหมักติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง พบว่าปุ๋ยหมักที่ใช้มีประโยชน์ต่อการปรับปรุงบ่ารุง

                  ดินทั้งทางตรงและทางอ้อมด้วยกันหลายประการ  แต่ปัจจัยหลักคือการเป็นแหล่งของสารประกอบฮิวมัสใน
                  ดิน  ซึ่งจะเป็นแหล่งปลดปล่อยธาตุอาหารหลักและรองของพืช  ท่าให้ดินมีความสามารถให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

                  นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยให้การเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารพืชเป็นไปแบบครบวงจร  ดังจะเห็นได้จากเมื่อ
                  เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วจะท่าการเผาวัสดุเหลือทิ้งในไร่นา  ซึ่งเป็นการท่าลายอินทรียวัตถุและแหล่ง

                  ธาตุอาหารที่ส่าคัญของดิน  เนื่องจากเมื่อพืชเจริญเติบโตจะมีการดูดธาตุอาหารไปใช้สร้างส่วนต่างๆ ของพืช
                  ทั้งใบ ล่าต้น กิ่งก้าน ดอกและผล  ในส่วนของผลผลิตจะเป็นการสูญเสียธาตุอาหาร  โดยการน่าผลผลิต

                  ออกไปจากพื้นที่เพาะปลูก  แต่ในส่วนของใบ ดอก กิ่ง เปลือกและล่าต้น  เราสามารถทดแทนหรือชดเชยคืน

                  ให้แก่ดิน  โดยน่าวัสดุเหลือทิ้งเหล่านี้และมูลสัตว์มาใช้ในการท่าปุ๋ยหมักแล้วกลับคืนแก่ดินได้  จากการ
                  ประมวลผลต่างๆ ของปุ๋ยหมักต่อคุณสมบัติของดิน  สามารถสรุปได้ดังนี้ คือ

                               10.2.1 ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน

                                      ดินที่มีอินทรียวัตถุสูง (มากกว่า 3 เปอร์เซ็นต์) จะมีสมบัติทางกายภาพที่ดี คือ
                  โครงสร้างดินมีเสถียรภาพ  ความหนาแน่นรวมต่่า  ดินมีการอุ้มน้่าดีขึ้น  การแทรกซึมน้่า และการซาบซึมน้่า

                  ของดินสะดวก  การระบายน้่าและการถ่ายเทอากาศดี  ดังนั้นการใส่ปุ๋ยหมักลงในดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุ
                  ต่่าหรือปานกลางให้มีอินทรียวัตถุมากขึ้น  จะท่าให้สมบัติทางกายภาพของดินดังกล่าวข้าวต้นดีขึ้น  ท่าให้พืชที่

                  ปลูกเจริญเติบโตได้ดี  เพราะช่วยส่งเสริมให้ระบบรากพืชพัฒนาและมีการกระจายตัวไปได้กว้างและลึกมาก
                  ขึ้น  จึงมีโอกาสดูดธาตุอาหารและน้่ามาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าเดิม (ยงยุทธและคณะ,  2551)  ซึ่งการใส่ปุ๋ย

                  หมักลงในดินที่มีลักษณะเนื้อดินต่างกัน  มีผลท่าให้สมบัติทางกายภาพของดินเปลี่ยนแปลง ดังนี้

                                      1) ส่าหรับดินเนื้อละเอียด เช่น ดินเหนียวและดินร่วนเหนียวที่มีอินทรียวัตถุต่่า จะมี
                  ความหนาแน่นรวมสูงรวมทั้งการระบายน้่าและการถ่ายเทอากาศช้า  เมื่อใส่ปุ๋ยหมักลงในดินเพื่อเพิ่ม

                  อินทรียวัตถุจะมีผลท่าให้สมบัติดังกล่าวของดินดีขึ้น (Alexander, 2001; Fullen and Call, 2004)
                                      2) ส่าหรับดินเนื้อหยาบ เช่น ดินทรายและดินร่วนปนทรายที่มีอินทรียวัตถุต่่าหรือ

                  ปานกลาง  เมื่อใส่ปุ๋ยหมักเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุจะมีผลท่าให้โครงสร้างของดินดีขึ้น  เนื่องจากฮิวมัสในปุ๋ยหมัก

                  เป็นสารเชื่อมที่ดีมีผลท่าให้อนุภาคดินเกาะตัวกันเป็นเม็ดดินและก้อนดินตามล่าดับ  จนท่าให้โครงสร้างดินมี
                  เสถียรภาพและทนต่อการกัดกร่อน  ซึ่งมีผลทางอ้อมต่อการช่วยควบคุมการเกิดชะล้างพังทลาย (Soil

                  erosion) ของหน้าดิน  อย่างไรก็ตามการพัฒนาโครงสร้างดินต้องอาศัยเวลาและการใช้ปุ๋ยหมักอย่างต่อเนื่อง
                  (Cosico, 1985; Im, 1982; Sdall and Oades, 1982)


                             10.2.2 ปรับปรุงสมบัติทางเคมีของดิน
                                      เนื่องจากปุ๋ยหมักมีความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (CEC) สูงกว่า 60 เซนติโมล

                  ต่อกิโลกรัม  ดังนั้นเมื่อใส่ลงดินจึงช่วยเพิ่ม CEC ตามสัดส่วนของอัตราปุ๋ยหมักที่ใส่  การที่ดินมี CEC สูงขึ้นมี
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113