Page 115 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 115

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        104


                  ตารางที่ 5.11 อัตราและวิธีการใส่ปุ๋ยหมักร่วมกับปุ๋ยเคมีสําหรับพืชชนิดต่างๆ (ต่อ)


                                                  ปริมาณปุ๋ยที่ใช้ต่อปี
                         ชนิดพืช                                                    วิธีการใส่ปุ๋ยหมัก
                                            ปุ๋ยหมัก             ปุ๋ยเคมี

                     ไม้ผล  ไม้ยืนต้น
                     1. ต้นขนาดใหญ่    25-50 กก./หลุม      100-200 กรัม/หลุม    - ใส่ปุ๋ยหมักตอนเตรียมหลุม

                                                           20-10-10, 15-15-15,   ปลูกโดยคลุกเคล้ากับดิน
                                                           14-14-21, 12-24-12   แล้วใส่ด้านล่างของหลุม

                     2.ต้นขนาดเล็ก                                              -ใส่ปุ๋ยหมักตอนพืชเจริญ

                                                                                แล้วโดยขุดร่องรอบต้นตาม

                                                                                แนวทรงพุ่มใส่ปุ๋ยหมักใน
                                                                                ร่องแล้วกลบด้วยดิน


                     ไม้ดอกไม้ประดับ                       15-15-15, 10-20-10,

                                                           12-24-12

                     1.  ไม้ตัดดอก     1-3 ตัน/ไร่         30-50 กก./ไร่        - หว่านให้ทั่วพื้นที่แล้วสับ


                                                                                กลบ ก่อนการปลูกพืช

                     2.  ไม้ดอกยืนต้น   5-10 กก./ไร่       25-45 กรัม/หลุม      -ใส่ปุ๋ยหมักคลุกเคล้ากับดิน

                                                                                บนรองก้นหลุมปลูก


                     3.  ไม้ประดับ    1กก/ดินเหนียว 4 กก.  0.8-1.6 กรัม/วัสดุปลูก  - ใส่ปุ๋ยหมักผสมคลุกเคล้า
                                      1กก./ดินทราย 2 กก.  10 กก.                ให้เข้ากับดิน



                  ที่มา: ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน (2551)
                         2. ความมีเหตุผล หมายถึง ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการเก็บรักษาปุ๋ยหมัก  เพราะการผลิต

                  ปุ๋ยหมักให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้แก่ มีธาตุอาหารที่พืชต้องการมากขึ้น หรือมีการผสมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
                  ได้แก่ จุลินทรีย์ป้องกันโรครากเน่าโคนเน่า  จุลินทรีย์ที่ช่วยท่าให้ธาตุอาหารเพิ่มขึ้น  เพื่อจะใช้ปุ๋ยหมักใน
                  ปริมาณที่น้อยลงและสามารถใช้ในพื้นที่ที่เพิ่มขึ้น  ท่าให้ลดค่าใช้จ่ายปุ๋ยได้มากขึ้น  ดังเช่น การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

                  คุณภาพสูงหรือปุ๋ยอินทรีย์ที่มีธาตุอาหารหลักสูง (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน, 2551) และการเก็บรักษา
                  ปุ๋ยหมักควรเก็บในสภาพที่มีความชื้นน้อยที่สุดไม่ควรเกิน 30 เปอร์เซ็นต์  เพราะจะท่าให้ประสิทธิภาพของ

                  จุลินทรีย์ในการย่อยสลายปุ๋ยหมักน้อยลง  ท่าให้ปริมาณอินทรียวัตถุในปุ๋ยหมักไม่สูญหายไป  เมื่อน่าไปใช้จะ
                  เกิดประโยชน์สูงสุด
                         3. การสร้างภูมิคุ้มกัน หมายถึง โดยมีการวางแผนการผลิตปุ๋ยหมักที่ต้องการใช้ในระบบการเกษตรให้

                  เพียงพอกับความต้องการกับพืชที่ปลูกในปีต่อไป  หรือถ้ามีวัสดุที่จะมาท่าปุ๋ยหมักในปริมาณมากๆ ก็ควร
                  ศึกษาวิธีการผลิตปุ๋ยหมักที่ได้ครั้งละปริมาณมาก เช่น การผลิตปุ๋ยหมักโดยการใช้ท่อหรือไม้ไผ่สอด  การผลิต
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120