Page 86 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        55







                       ตลาดสด    ซึ่งเป็นศูนย์รวมธุรกิจการค้าขายเบ็ดเตล็ดของชุมชน มีขนาดพื้นที่เล็กและกระจายตัวอยู่
                       ทั่วไป
                                           2.2) ศูนย์พาณิชยกรรมกลางเมือง (Central Business District) เป็นบริเวณ

                       ที่กว้างใหญ่ที่สุดและหนาแน่นที่สุดของธุรกิจการค้าขาย และการให้บริการ เป็นที่รวมของกิจการค้า
                       ปลีก ส านักงานให้บริการ สถาบันการเงิน สถานเริงรมย์ โรงแรม และอื่นๆ C.B.D.  แบ่งออกเป็น  2
                       ประเภท คือ
                                                 2.2.1) C.B.D. ในเมือง ซึ่งใช้พื้นที่น้อย อยู่ในท าเลที่ตั้งของการแข่งขัน

                       ราคาที่ดินแพง อาคารสูง เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในพื้นที่ที่จ ากัด
                                                 2.2.2)  C.B.D.  ชานเมือง เป็นผลมาจากปัจจุบัน กิจกรรมที่เป็นธุรกิจ
                       กลางของเมืองใหญ่ๆ ที่อยู่ใจกลางเมืองต้องประสบปัญหาต่างๆ อาทิ การจราจรติดขัด ราคาที่ดินสูง
                       ความแออัด และเสื่อมโทรม ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าด้านการสื่อสารและการคมนาคมที่

                       สะดวก จึงได้มีการขยายตัวออกไปอยู่ชานเมือง การก าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพาณิชยก
                       รรม         มีหลักการที่ส าคัญ คือ พื้นที่ดังกล่าวควรอยู่บนที่ราบปลอดภัยจากน้ าท่วมสามารถระบาย
                       ได้ดี มีความสะดวกในการเข้าถึง มีระบบโครงข่ายถนนที่ได้มาตรฐาน และสามารถติดต่อเชื่อมโยงกับ

                       บริเวณอื่นๆ เพื่อความสะดวกในการสัญจร อยู่ในบริเวณที่มีสถาบันการเงิน และการบริการสาธารณะ
                       อื่นๆ
                                      3) ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม (Industrial Land Uses)
                                           ในประเทศไทยได้ก าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมไว้ไม่เกิน
                       ร้อยละ 10 ของพื้นที่เมือง โดยแบ่งที่ดินประเภทอุตสาหกรรมออกเป็น 3 ประเภทหลัก คือ

                                           3.1) ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า
                                           3.2) ประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ
                                           3.3) ประเภทคลังสินค้า

                                           การวิเคราะห์อุตสาหกรรมเพื่อก าหนดที่ตั้ง และขนาดของพื้นที่ในการวาง
                       ผังเมือง ได้พิจารณาจ าแนกเป็นประเภทตามกระบวนการผลิต และกระบวนการเชื่อมโยงกับการผลิต
                       เพราะกระบวนการผลิตเป็นปัจจัยท าให้เกิดผลกระทบด้านที่ตั้ง ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ที่ดินแต่
                       ละประเภท ส่วนกระบวนการเชื่อมโยงกิจกรรมอื่นตามมา อาทิ การขนส่ง การสื่อสารธุรกิจการค้าและ

                       บริการ เป็นต้น หลักการก าหนดที่ตั้งของที่ดินประเภทอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ควรเป็นพื้นที่ที่มีความ
                       ลาดชันไม่เกินร้อยละ 5 เพื่อการระบายน้ าและก าจัดของเสีย อยู่ใกล้เส้นทางคมนาคมสายหลักมีความ
                       พร้อมในด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เป็นบริเวณที่มีราคาที่ดินต่ า และมีพื้นที่เพียงพอ
                       ส าหรับการขยายตัวของโรงงานในอนาคต อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ ใกล้ตลาด ไม่อยู่ในทิศทางที่ควันฝุ่น

                       ละออง กลิ่น เสียง ถูกลมพัดเข้าเมือง ไม่อยู่ในทิศทางที่ส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ า หรือทางล าน้ า
                       ธรรมชาติ และต้องไม่เกิดผลกระทบกับจุดเด่นของเมือง (มัตติกา พนนมธรนิจกุลและคณะ, 2547)
                                      4) ที่ดินประเภทที่สงวนและควบคุมการพัฒนา
                                           ที่ดินประเภทที่สงวน และควบคุมการพัฒนา เป็นการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                       ประเภทหนึ่งที่มีความส าคัญและจ าเป็นส าหรับเมือง วัตถุประสงค์ของการก าหนดการใช้ที่ดินประเภท
                       นี้ เพื่อควบคุมการเจริญเติบโตของเมืองให้อยู่ในบริเวณที่ก าหนด รักษาสภาพแวดล้อม และระบบ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91