Page 35 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              22




                                         (3)  การสนองตอบอย่างรวดเร็ว (Quick  -  Response)  ธุรกิจจะต้องเผชิญกับคู่
                  แข่งขันในด้านการแสวงหาลูกค้าการแข่งขันกันกับองค์กร หรือหน่วยงานอื่นที่มีสินค้า/บริการที่คล้ายคลึงกัน
                  และอยู่ในตลาดที่คล้ายกัน

                                         (4)  การมุ่งที่ตลาดเฉพาะส่วน (Focus) เป็นกลยุทธ์ที่มุ่งการผลิตสินค้าและบริการ
                  ที่ตอบสนองความต้องการต่อลูกค้าหรือผู้มารับบริการในกลุ่มที่มีความต้องการเฉพาะ

                                   ระดับที่ ๓ ยุทธศาสตร์ระดับหน้าที่ (Functional Level Strategy)

                                         เป็นวิธีการซึ่งแต่ละหน้าที่ใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามยุทธศาสตร์ขององค์กร
                  และหน่วยธุรกิจ โดยการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด  หรือเป็นการสร้างให้เกิดข้อได้เปรียบทางการ
                  แข่งขัน (Competitive Advantage) ซึ่งเป็นส่วนที่ท าให้ประสบความส าเร็จ ดังนั้นในหน่วยงานระดับหน้าที่จะ
                  มีส่วนสร้างคุณค่าส าหรับผู้มาใช้บริการหรือลูกค้า (Customer  Value) และข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน

                  (Competitive  Advantage) โดยค านึงถึงคุณภาพ (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และการส่งมอบคุณค่า
                  (Value  Delivery)  ให้กับลูกค้าในหน้าที่ต่าง ๆ เช่น การปฏิบัติการ (Operation) การวิจัยและพัฒนา (Research
                  and  Development)  การเงิน (Financial) และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human  Resource

                  Management)

                            2.4.7  ประโยชน์ของการวางแผนยุทธศาสตร์

                                   การวางแผนยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่ส าคัญของผู้บริหารในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้
                  สามารถบริหารและมีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อม เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถอยู่รอด
                  และเจริญเติบโตต่อไป
                                                                                                 ๑๖
                                   นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ต่อการบริหารองค์กรอีกหลายประการ สรุปได้ดังนี้
                                         (1)  ช่วยให้ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงานให้ความใส่ใจ และมีส่วนร่วมในเรื่องของ

                                              องค์กรมากขึ้น
                                         (2)  กระตุ้นให้ผู้บริหารทราบถึงปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
                                              ที่อาจเกิดขึ้นและเตรียมมาตรการรองรับไว้ล่วงหน้า อันเป็นการลดความ

                                              เสี่ยง และความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
                                         (3)  ช่วยให้เกิดความเข้าใจธรรมชาติ และมองเห็นภาพในอนาคตของการพัฒนา
                                              และน าองค์กรต่อไป
                                         (4)  ช่วยให้เกิดการวิเคราะห์ถึงโอกาสและช่องทางในในอนาคตให้ปรับเปลี่ยน
                                              ทิศทางอย่างถูกต้อง

                                         (5)  ช่วยให้ก าหนดวัตถุประสงค์ แผนงาน และการใช้ทรัพยากรอย่างมี
                                              ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
                                         (6)  ช่วยสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องร่วมกันระหว่างสมาชิกขององค์กรและทุกฝ่าย

                                              ที่เกี่ยวข้อง
                                         (7)  ช่วยให้เกิดการประสานงานและบูรณาการทางด้านความคิดอันเป็นการผนึก
                                              ก าลังในองค์กร




                     ๑๖
                        ธงชัย สันติวงษ์, เรื่องเดิม.

                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40