Page 15 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7
ตารางที่ 1 ขอก้าหนดขนาดลองกองผลเดี่ยว
รหัสขนาด น้้าหนักต่อผล (กรัม)
1 25
2 20-25
3 15-20
4 10-15
ตารางที่ 2 ขอก้าหนดขนาดของลองกองชอ
รหัสขนาด น้้าหนักต่อช่อ (กรัม)
1 700
2 500-700
3 300-500
4 200-300
5 100-200
การแบงชั้นคุณภาพและขอก้าหนดเรื่องขนาดในมาตรฐานนี้ สามารถน้าไปใชพิจารณาในทาง
การคา โดยน้า ขอก้าหนดการแบงชั้นคุณภาพไปใชรวมกับขอก้าหนดเรื่องขนาด เพื่อก้าหนดเปนชั้น
ทางการคา ซึ่งคูคาอาจมีการเรียกชื่อชั้นทางการคาที่แตกตางกันขึ้นกับความตองการของคูคาหรือ
ตามขอจ้ากัดที่มีเนื่องมาจาก ฤดูกาล (ส้านักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ, 2549)
หนอนชอนใต้ผิวเปลือกขนาดเล็ก (Microchlora sp)
รูปร่างลักษณะ
หนอนมีสีขาวครีม หัวสีน้้าตาล ขนาดตัวยาวสุด 1 - 3 เซนติเมตร หนอนเคลื่อนที่ว่องไว เมื่อ
ถูกรบกวนจะทิ้งใยลงดิน เมื่อเปิดเปลือกจะพบดักแด้อยู่ใต้เปลือกมีใย ขาวๆ หุ้มขนาดยาวประมาณ 1
เซนติเมตร เข้าดักแด้ประมาณ 8 วัน จะออกเป็นผีเสื้อตัวเต็มวัย ปีกคู่หน้าและคู่หลัง มีสีเขียวอ่อน
ขนาดเมื่อกางปีกออกยาวประมาณ 2 ซม. วงจรชีวิตประมาณ 1 เดือน
ลักษณะการท าลาย
หนอนกินใต้ผิวเปลือกทั้ง 2 ชนิด จะกัดกินท้าลายอยู่ใต้ผิวเปลือกตามกิ่งและล้าต้นลึก
ระหว่าง 2 - 8 มิลลิเมตร ซึ่งอยู่ระหว่างท่อน้้าและท่ออาหาร ท้าให้กิ่งและล้าต้นมีลักษณะตะปุ่มตะป ่า
ซึ่งในช่วงหน้าฝนกิ่งจะมี ความชื้นสูงและมักมีโรคราสีชมพูเข้าท้าลายร่วมด้วย ถ้าหนอนกัดกินบริเวณ
ตาดอกจะท้าให้ตาดอกถูกท้าลายและ ผลผลิตลดลง ถ้าท้าลายรุนแรงจะท้าให้กิ่งแห้ง ต้นแคระแกรน
โตช้า และตายในที่สุด