Page 18 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
ออกฤทธิ์ประเภทต่าง ๆ และสารไล่แมลงที่สกัดได้จากพืชสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ใช้ในการป้องกันแมลง
ศัตรูพืช
สารเร่งซุปเปอร์พด.7 เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการเพิ่มประสิทธิภาพการหมักและ
ย่อยสลายพืชสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน เพื่อผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืช
ชนิดของจุลินทรีย์ในสารเร่งซุปเปอร์พด.7
1. ยีสต์ผลิตแอลกอฮอล์ และกรดอินทรีย์
2. แบคทีเรียผลิตเอนไซม์เซลลูเลสย่อยสลายสารประกอบเซลลูโลส
3. แบคทีเรียผลิตกรดแลคติก
การผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืช (จ านวน 50 ลิตร)
วัสดุประกอบด้วย บอระเพ็ด 30 กิโลกรัม ร้าข้าว 100 กรัม น้้าตาล 10 กิโลกรัม น้้า 30 ลิตร
และสารเร่ง พด.7 จ้านวน 1 ซอง (25 กรัม)
วิธีการท้า สับบอระเพ็ดให้เป็นชิ้นเล็ก ทุบหรือต้าให้แตกจ้านวน 30 กิโลกรัม น้าร้าข้าว100
กรัมผสมบอระเพ็ดและกากน้้าตาลใส่ลงในถังหมักผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน ละลายสารเร่ง พด.7 ในน้้า
30 ลิตร ผสมให้เข้ากันนาน 5 นาที เทสารละลายสารเร่ง พด.7 ใส่ลงในถังหมักคลุกเคล้าหรือคนให้
ส่วนผสมเข้ากันอีกครั้ง ปิดฝาไม่ต้องสนิท และตั้งไว้ในที่ร่มใช้ระยะเวลาในการหมัก 21 วัน
คุณสมบัติของสารป้องกันแมลงศัตรูพืช
มีสารออกฤทธิ์ที่สกัดได้จากสมุนไพรชนิดต่าง ๆ เช่น สารอะซาดิแรคตินA, สารโรติโนน,
pinene, neptha, quinone, geraniol citronellal, limonene และ phellandrene เป็นต้น มี
สารพวก repellant สามารถไล่แมลงชนิดต่าง ๆ เช่น alkaloid, glycoside, saponin, gum,
essential oil, tannin และ steroid เป็นต้น มีกรดอินทรีย์หลายชนิด เช่น กรดแลคติก กรดอะซีติก
กรดฟอร์มิก และกรดอะมิโน มีฮอร์โมนหลายชนิด เช่น ออกซิน ไซโตไคนิน โดยเฉพาะจิบเบอร์
เรลลิน มีความเป็นกรดเป็นด่างระหว่าง 3 – 4
อัตราการใช้
สารป้องกันแมลงศัตรูพืช ส้าหรับพืชไร่ และไม้ผลสารป้องกันแมลงศัตรูพืช ส้าหรับพืชไร่ และ
ไม้ผล
วิธีการใช้
1. สารป้องกันแมลงศัตรูพืชที่เจือจางแล้วอัตรา 50 ลิตร ต่อไร่ ส้าหรับใช้ในพืชไร่ พืชผัก และ
ไม้ดอก
2. สารป้องกันแมลงศัตรูพืชที่เจือจางแล้วอัตรา 100 ลิตร ต่อไร่ ส้าหรับใช้ในไม้ผลโดยฉีดพ่น
ที่ใบ ล้าต้น และรดลงดินทุก 20 วัน หรือในช่วงที่มีแมลงศัตรูพืชระบาดให้ฉีดพ่นทุกๆ 3 วัน ติดต่อ
กัน 3 ครั้ง
ประโยชน์ของสารเร่งซุปเปอร์ พด. 7
-ป้องกันแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยต่าง ๆ หนอนเจาะผลและล้าต้น หนอนใยผัก หนอนชอนใบ
หนอนคืบ หนอนกระทู้ หนอนกอ ไรแดง และแมลงหวี่ เป็นต้น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
- ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุ น้้าสกัดชีวภาพ หรือที่เรียกกันว่าน้้าหมักชีวภาพหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้านั้น
ไม่ใช่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก แต่เป็นปุ๋ยที่ได้จากการน้าเอาจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อดินและพืชมา