Page 17 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         9








                       หนอน หรือหนอนขนาดเล็กที่เพิ่งฟักออกมา จะช่วยควบคุมประชากร หนอนชอนเปลือกลองกอง ได้
                       เป็นอย่างดี
                       3. การควบคุมด้วยน้ าหมักสมุนไพร
                              3.1 ฉีดพ่นด้วยน้้าหมักสมุนไพรป้องกันก้าจัดแมลงในสูตรต่างๆ ด้วยเครื่องฉีดพ่น อย่างน้อย

                       เดือนละ 2 ครั้ง ก่อนการแทงตาดอก นอกจากท้าให้หนอนหลุดร่วงไป แล้วยังท้าให้เกิดความชุ่มชื้นแก่
                       ต้นลองกอง ท้าให้มีการแทงช่อดอกได้ดีอีกด้วย
                       สูตรน้าหมักสมุนไพรที่นิยมใช้หมักมีส่วนผสมดังนี้
                              1. ใบสะเดาแก่หรือเมล็ด   2    กิโลกรัม

                              2. หัวข่าแก่      2   กิโลกรัม
                              3. ตะไคร้หอมทั้งต้น    2   กิโลกรัม
                              4. หางไหลหรือต้นบอระเพ็ด  2  กิโลกรัม
                              5.ยาเส้น    0.5 กิโลกรัม

                              6.กากน้้าตาล   3 กิโลกรัม
                              7.เหล้าขาว   1 ขวด
                              8.น้้าส้มสายชู   250 ซีซี

                                วิธีท้าโดยการหั่นสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด เป็นชิ้นเล็กๆ รวมกัน อาจต้าหรือบดให้ละเอียด เติม
                       กากน้้าตาล และส่วนผสมอื่นๆ ลงใส่ถังพลาสติก คลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักไว้ 10 - 15วัน จะได้น้้าหมัก
                       ที่เข้มข้นวิธีน้าไปใช้โดยการ กรองเอาน้้าหมักสมุนไพรผสมน้้าเปล่าในอัตรา 50 ซีซี ต่อน้้า 20 ลิตร
                       (1 ปิ๊บ) น้าไปฉีดต้นลองกองในเวลาเย็นหรือเช้าขณะแดดยังไม่จัด โดยฉีดพ่นให้ทั่วทั้งต้นและกิ่งที่ถูก
                       หนอนท้าลาย ทุก 7 – 10 วัน เดือนละ 2 ครั้งก่อนแทงช่อดอก

                              3.2  การใช้สารสะเดาะฉีดพ่นควบคุมแมลงศัตรูพืช โดยสารออกฤทธิ์ในเมล็ดสะเดา ที่ชื่อว่า
                       Azadirachtin  ปริมาณ1-3% มีคุณสมบัติไล่แมลง ท้าให้แมลงไม่วางไข่ รบกวนการสื่อสารเพื่อการ
                       ผสมพันธุ์  ยับยั้งการสร้างสารไคติน ของแมลงตัวอ่อน หรือหนอน ลอกคราบไม่ได้ แล้วตายในที่สุด

                       ยับยั้งการกินท้าให้ลดความเสียหายลงได้ แต่ไม่ท้าลายแมลงที่มีประโยชน์ เช่น แมลงห้้า แมลงเบียน
                       แมลงผสมเกสร ควรเริ่มการใช้ครั้งแรก ๆ  พ่นติดต่อกันอย่างน้อย 3-4 ครั้ง ห่าง กัน 5-7 วัน ในระยะ
                       ของการป้องกันก่อนการระบาดของแมลง และปริมาณการใช้จะน้อยลงตามล้าดับในแต่ละปี (จรัสศรี,
                       2560)

                       4. การใช้สารเคมีทางการเกษตร
                              เมื่อพบว่ามีหนอนท้าลายมาก ต้องตรวจสอบปริมาณตัวหนอนโดยให้ขูดผิวเปลือกออกเป็น
                       พื้นที่ขนาด 6x6 นิ้ว ในระดับความสูงเกินกว่า 1.5 เมตรขึ้นไป จ้านวน 5 จุดต่อต้น ถ้าพบว่าแต่ละจุด
                       มีตัวหนอนมากกว่า 2  ตัวขึ้นไป ให้ฉีดพ่นสารเคมีเมทามิโดฟอส อัตรา  40  มิลลิลิตรต่อน้้า 20  ลิตร

                       ตามกิ่งและล้าต้นให้ทั่วทั้งต้น โดยปรับหัวฉีดให้เป็นละอองฝอยเล็ก ๆ แต่พึงระวังว่าการใช้สารเคมีจะ
                       เป็นการท้าลายศัตรูธรรมชาติ และการขูดกิ่งก็ต้องระวังว่าจะไปท้าลายตาดอก (ลองกอง, 2543)
                       สารป้องกันแมลงศัตรูพืชที่ผลิตจากสารเร่งซุปเปอร์พด.7
                              เป็นน้้าหมักชีวภาพที่ได้จากการย่อยสลายพืชสมุนไพร โดยกิจกรรมจุลินทรีย์ในสภาพที่ไม่มี

                       ออกซิเจน ได้ของเหลวสีน้้าตาลใส ซึ่งประกอบด้วยกรดอินทรีย์หลายชนิดในปริมาณสูง รวมทั้งสาร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22