Page 17 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7







                       ของดินอาศัยการแปลภาพถํายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินใน
                       สนาม โดยระยะและปริมาณจุดที่ตรวจสอบดินจะมากกวําการส ารวจดินแบบหยาบ โดยก าหนดไว๎
                       ประมาณ 1-2 ตารางกิโลเมตร ตํอ 1 จุดตรวจสอบดิน (625-1,250 ไรํ/1 จุด)
                                        4) การส ารวจดินแบบคํอนข๎างละเอียด (semi-detailed  survey)  เป็นการ

                       ส ารวจดินเพื่อใช๎ข๎อมูลในการวางแผนระดับอ าเภอหรือโครงการขนาดกลาง เพื่อให๎ทราบถึงศักยภาพ
                       ของพื้นที่ในการพัฒนาและวางแนวทางการปฏิบัติงาน แผนที่ที่ใช๎ในการส ารวจดินมีมาตราสํวนอยูํ
                       ระหวําง 1:20,000 ถึง 1:50,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:25,000 ถึง
                       1:60,000 ขอบเขตของดินอาศัยการแปลภาพถํายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ประกอบกับการ

                       ตรวจสอบดินในสนาม โดยระยะและปริมาณจุดที่ตรวจสอบดินจะมากกวําการส ารวจดินแบบคํอนข๎าง
                       หยาบ โดยก าหนดไว๎ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร ตํอ 4-6 จุดตรวจสอบดิน (100-150 ไรํ/1 จุด)
                                        5) การส ารวจดินแบบละเอียด (detailed  survey)  เป็นการส ารวจดินในระดับ
                       ไรํนา หรือในพื้นที่โครงการขนาดเล็ก ที่ต๎องการการพัฒนาอยํางประณีต สามารถจัดท าแผนการ

                       จัดการที่ดินที่สามารถน าไปปฏิบัติจริงในพื้นที่ได๎ ดังนั้นจ าเป็นต๎องมีการบันทึกข๎อมูลที่คํอนข๎าง
                       ละเอียดกวําระดับการส ารวจดินที่ผํานมา และมีการตรวจสอบขอบเขตของดินให๎มีความถูกต๎องมาก
                       แผนที่ที่ใช๎ในการส ารวจดินในสนามมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:5,000 ถึง 1:30,000 แผนที่ดินที่พิมพ์

                       ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:10,000 ถึง 1:30,000 หรือมาตราสํวนใหญํกวําขอบเขตของ
                       ดินจะเน๎นการตรวจสอบดินในสนามให๎มากขึ้น แตํจะอาศัยรูปถํายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม
                       ชํวยในการเขียนขอบเขตดิน ระยะในการตรวจสอบสมบัติของดินไมํควรหํางกันเกิน 250 เมตร ตํอ 1
                       จุดตรวจสอบดิน (50-80 ไรํ/1 จุด)
                                        6) การส ารวจดินแบบละเอียดมาก (very detailed survey) เป็นการส ารวจดิน

                       ในพื้นที่ที่ใช๎ในการศึกษาวิจัย การท าแปลงทดลองที่ต๎องการข๎อมูลที่มีความถูกต๎องแมํนย า และมีความ
                       ละเอียดเป็นพิเศษรวมถึงความถูกต๎องของขอบเขตดิน และจ าเป็นต๎องมีการเก็บตัวอยํางดินวิเคราะห์
                       ด๎วย แผนที่ที่ใช๎ในการส ารวจดินในสนามมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:2,000 ถึง 1:10,000 แผนที่ดินที่

                       พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:5,000 ถึง 1:10,000 หรือมาตราสํวนใหญํกวํา ขึ้นอยูํกับ
                       ขนาดของพื้นที่ที่ท าการส ารวจ ขอบเขตของดินจะเน๎นการตรวจสอบดินในสนามให๎มากขึ้น แตํจะ
                       อาศัยภาพถํายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมชํวยในการเขียนขอบเขตดิน ระยะในการตรวจสอบ
                       สมบัติของดินไมํควรหํางกันเกิน 100 เมตรตํอ 1 จุดตรวจสอบดิน (3-10 ไรํ/1 จุด)

                                  การจ าแนกดิน (soil  classification)  หมายถึง การจัดดินเป็นกลุํมหรือเป็นขั้นการ
                       จ าแนกอยํางมีระบบบนพื้นฐานลักษณะเฉพาะของดินนั้น การจัดดินเป็นกลุํมแบบกว๎างๆ จะใช๎สมบัติ
                       เฉพาะทั่วๆ ไป เมื่อแบํงยํอยลงไปจะใช๎สมบัติที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น (คณะกรรมการจัดท าปทานุกรม
                       ปฐพีวิทยา, 2551) ในโครงการนี้ใช๎ระบบอนุกรมวิธานดินของ USDA (United States Department

                       of Agriculture) (Soil Survey Staff, 2014)
                                  อนุกรมวิธานดิน (soil    taxonomy) ระบบการจ าแนกดินของกระทรวงเกษตร
                       สหรัฐอเมริกา ที่ใช๎สมบัติของดินซึ่งเป็นลักษณะประจ าตัวของดินเป็นพื้นฐานในการจ าแนก มีเกณฑ์
                       เชิงปริมาณที่ตรวจสอบได๎ด๎วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และให๎ชื่อดินที่มีลักษณะเฉพาะ (คณะกรรมการ

                       จัดท าปทานุกรมปฐพีวิทยา,  2551) ซึ่งเป็นระบบหนึ่งของการจ าแนกดินที่มีความละเอียด และมี
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22