Page 15 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         5







                       และสหกรณ์, 2524)  ได๎ก าหนดให๎พื้นที่สูงเป็นพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 700 เมตร
                       ขึ้นไป เนื่องจากมีลักษณะเดํนของพื้นที่ คือ
                                        1) สภาพพื้นที่ที่สูงจากระดับทะเลปานกลางตั้งแตํ 700 เมตร โดยระดับความสูง
                       นี้เป็นจุดที่ผิวหน๎าภูมิประเทศที่มีลักษณะโค๎งเว๎า (concave)  จากอิทธิพลการกรํอนโดยน้ าเริ่ม

                       เปลี่ยนเป็นโค๎งนูน (convex)
                                        2) พื้นที่มีความลาดชันมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์ แทบทั้งสิ้น
                                        3) ดินมีความชื้นเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของฝนและความชื้นของดิน
                       ตอนบน

                                        4) ดินมีพัฒนาการคํอนข๎างสูง
                                  วิชา (2530)  ได๎ก าหนดวําพื้นที่สูง เริ่มจากความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ
                       800 เมตรขึ้นไป โดยให๎เหตุผลดังนี้
                                        1) ลักษณะของดินมีพัฒนาการคํอนข๎างสูง

                                        2) พื้นที่มีความลาดชันสูงมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์ และเปลี่ยนจากโค๎งเว๎าเป็น
                       โค๎งนูน
                                        3) เริ่มมีการแสดงถึงความแตกตํางอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติของข๎อมูลลักษณะ

                       ทางอากาศที่ส าคัญ เชํน ปริมาณฝนที่ตกเพิ่มขึ้น ความชื้นสัมพัทธ์ที่สูงขึ้น อุณหภูมิของอากาศที่ลด
                       ต่ าลง ความเร็วลมที่มากขึ้น และการระเหยน้ าที่ลดลงจากพื้นที่ที่ต่ ากวํา
                                        4) ลักษณะของป่าไม๎ที่ขึ้นปกคลุมจะเริ่มมีการเปลี่ยนจากป่าผลัดใบเป็นป่า
                       ไมํผลัดใบ
                                  พื้นที่สูงในปัจจุบันมีความส าคัญตํอมนุษย์มาก ทั้งในด๎านการใช๎ท าเกษตรกรรม สถานที่

                       ทํองเที่ยว และแหลํงต๎นน้ าล าธาร ปัจจุบันมีการใช๎พื้นที่สูงเพื่อท าการเกษตรเป็นจ านวนมาก ซึ่งท าให๎
                       เกิดความเสื่อมโทรมกับดินในพื้นที่สูงเองจากการกรํอนดินที่เกิดขึ้นงํายและรุนแรง และยังกํอให๎เกิด

                       ความเสียหายสูํพื้นที่ต่ าที่อยูํในตอนลําง เชํน เกิดน้ าทํวม ดินถลํม ท าให๎เกิดความเสียหายตํอชีวิตและ
                       ทรัพย์สิน (พิบูลย์, 2549) โดยสํวนใหญํพื้นที่สูงจะเป็นพื้นที่ป่าไม๎ ซึ่งการบุกรุกท าลายป่าเพื่อใช๎

                       ประโยชน์ที่ดินดังกลําวจะมีผลตํอสมดุลน้ า และเกิดความเสื่อมโทรมทั้งสมบัติทางกายภาพ และเคมี
                       ของดิน (บรรณพิชญ์, 2551)

                              3.4 การส ารวจดิน

                                  ดิน (soil) หมายถึง อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไมํจับตัวแข็งเป็นหิน ซึ่งปกคลุม
                       พื้นผิวโลก เป็นตัวกลางธรรมชาติส าหรับการเจริญเติบโตของพืช หรืออินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่
                       ไมํจับตัวแข็งเป็นหินซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยด๎านการก าเนิดและสภาพแวดล๎อม
                       ได๎แกํ ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพภูมิประเทศ วัตถุต๎นก าเนิด และระยะเวลา

                       (คณะกรรมการจัดท าปทานุกรมปฐพีวิทยา,  2551)  ท าให๎เกิดดินที่คล๎ายคลึงหรือแตกตํางกันหลาย
                       ชนิดปกคลุมพื้นผิวโลกอยูํเป็นชั้นบางๆ เป็นที่ยึดเหนี่ยวเจริญเติบโตและให๎ผลผลิตของพืช รวมถึงเป็น
                       แหลํงอาหาร น้ า และอากาศแกํสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่อาศัยอยูํในดินและบนดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20