Page 22 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12







                       ตารางที่ 3 ชั้นความลาดชันของพื้นที่

                                                                                          ความลาดชัน
                        สัญลักษณ์                      การเรียกชื่อ
                                                                                          (เปอร์เซ็นต์)
                            A        ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ (flat to nearly flat)             0-2

                            B        ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย (slightly undulating)               2-5
                            C        ลูกคลื่นลอนลาด (undulating)                                5-12
                            D        ลูกคลื่นลอนชัน (rolling)                                   12-20
                            E        เนินเขา (hilly)                                            20-35
                            F        สูงชัน (steep)                                             35-50

                            G        สูงชันมาก (very steep)                                     50-75
                            H        สูงชันมากที่สุด (extremely steep)                          >75

                       หมายเหตุ : พื้นที่ลาดชั้นเชิงซ๎อน (slope complex : SC) มีความลาดชันมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์
                                        4) ความลึกของดิน (soil  depth)  ความหนาของชั้นดินตั้งแตํผิวดินถึงชั้นที่มี
                       สมบัติขัดขวางตํอการเจริญเติบโตหรือการชอนไชของรากพืช ท าให๎พืชไมํสามารถเจริญเติบโตได๎

                       ตามปกติ เชํน แนวสัมผัสชั้นหินพื้นแข็ง แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นอํอน เศษหิน กรวด ลูกรัง ที่มีขนาด
                       ใหญํกวํา 2 มิลลิเมตร ในปริมาณมากกวําร๎อยละ 35 โดยปริมาตร ชั้นความลึกของดิน แบํงได๎ 5 ชั้น
                       (ตารางที่ 4)

                       ตารางที่ 4 ชั้นความลึกของดิน

                         สัญลักษณ์                      การเรียกชื่อ                      ความลึก (ซม.)

                               d       ตื้นมาก (very shallow : vsh)                           0-25
                             1
                               d       ตื้น (shallow : sh)                                    25-50
                             2
                               d       ลึกปานกลาง (moderately deep : md)                      50-100
                             3
                               d       ลึก (deep : d)                                         100-150
                             4
                               d       ลึกมาก (very deep : vd)                                >150
                             5

                                        5) การกรํอนของดิน (soil erosion) เป็นการแตกกระจาย (detachment) และ
                       การพัดพาไป (transportation)  ของวัสดุดิน ซึ่งอาจเกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือโดยมีการกระท าของ
                       มนุษย์เป็นตัวเรํง โดยตัวการกรํอนของดินตามธรรมชาติ เชํน โดยน้ า (water  erosion)  หรือโดยลม
                       (wind erosion) ความรุนแรงของการกรํอนแบํงออกได๎ 5 ชั้น (ตารางที่ 5)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27