Page 12 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         2







                       แนวทางการแก๎ไขปัญหาทรัพยากรดิน การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน การ
                       จัดท าศูนย์เรียนรู๎ด๎านการพัฒนาที่ดินและกิจกรรมสํงเสริมอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎องในพื้นที่ เพื่อสนับสนุน
                       กิจกรรมการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ดังกลําวให๎มีความสอดคล๎องกับพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน
                       พุทธศักราช 2551


                       2. วัตถุประสงค์

                              2.1  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง
                       จังหวัดนําน ส าหรับก าหนดพื้นที่ด าเนินการในด๎านการพัฒนาที่ดินตามสภาพปัญหาของพื้นที่

                              2.2  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะและสมบัติของดิน จ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน
                       สภาพการใช๎ที่ดิน  จ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจและความเหมาะสมของดิน

                       ทางด๎านปฐพีกลศาสตร์ในพื้นที่ด าเนินการ
                              2.3  เพื่อจัดท าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช๎ที่ดิน และรายงานการส ารวจดินในพื้นที่
                       ด าเนินการ ส าหรับใช๎เป็นข๎อมูลพื้นฐานในการวางแผนการใช๎ที่ดิน

                       3. ตรวจเอกสาร


                              3.1 ลุ่มน้ า
                                  ลุํมน้ า (watershed) นักวิชาการได๎ให๎ค าจ ากัดความไว๎หลายประการ คือ
                                  บริเวณพื้นที่ที่รับและระบายน้ าโดยนับรวมตั้งแตํบริเวณต๎นน้ า (upstream)  จนถึงจุด

                       ออก (outlet)  หรือปากล าน้ า (estuary)  ดังนั้น การหาพื้นที่หรือขนาดของลุํมน้ าใดๆ จะมีขนาด
                       เทํากันหรือแตกตํางกันนั้น ขึ้นอยูํกับการก าหนดจุดออกของลุํมน้ าเป็นส าคัญ การประมาณคําของ
                       พื้นที่ลุํมน้ า ท าได๎โดยการวัดพื้นที่ซึ่งล๎อมรอบโดยสันปันน้ าในแผนที่ภูมิศาสตร์ พื้นที่ลุํมน้ าตลอดจน
                       ลักษณะภูมิประเทศ สภาพของพืชที่ปกคลุม และลักษณะทางธรณีวิทยาจะมีอิทธิพลทั้งทางตรงและ

                       ทางอ๎อมตํอปริมาณน้ าทํวม ลักษณะของน้ าทํวม เป็นต๎น (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2558) บริเวณพื้นที่
                       ทั้งหมดที่โอบล๎อมแมํน้ าที่น้ าฝนตกลงมาในบริเวณพื้นที่แล๎วจะระบายลงสูํล าห๎วยล าคลองตํางๆ จนใน
                       ที่สุดไหลออกสูํจุดสุดท๎ายที่ก าหนดเป็นปากแมํน้ าของลุํมน้ านั้น (กรมทรัพยากรน้ า, 2552) หนํวยของ
                       พื้นที่ซึ่งล๎อมรอบด๎วยสันปันน้ า เป็นพื้นที่รับน้ าฝนของแมํน้ าสายหลักในลุํมน้ านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาใน

                       พื้นที่ลุํมน้ าจะไหลออกสูํล าธารสายยํอยๆ และรวมกันออกสูํแมํน้ าสายหลัก จนไหลออกปากน้ าในที่สุด
                       (กรมป่าไม๎, 2538)

                                  ลักษณะการระบายน้ าของระบบล าน้ าที่ปรากฏอยูํในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง อาจมี
                       รูปแบบเป็นเส๎นตรง มุมโค๎งและอื่นๆ ซึ่งขึ้นอยูํกับลักษณะทางธรณีวิทยา หรือภูมิประเทศบริเวณนั้นๆ

                       ซึ่งขึ้นอยูํกับขนาดของบริเวณลุํมน้ า โครงสร๎างของหิน ชนิดของหินที่รองรับ สภาวะของภูมิอากาศและ
                       สภาพภูมิประเทศ โดยสามารถจ าแนกรูปแบบการระบายน้ าที่ส าคัญได๎  ดังนี้  (ราชบัณฑิตยสถาน,

                       2544)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17