Page 13 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         3







                                        1) แบบรูปทางน้ ากิ่งไม๎ (dendritic drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบาย
                       น้ าโครงขํายที่ล าน้ าสาขาไหลลงมารวมกันกับล าน้ าสายหลักดูคล๎ายกับกิ่งไม๎ มักเกิดขึ้นในบริเวณที่มี
                       โครงสร๎างหินแบบเดียวกัน มีเนื้อหินสมานแนํน  มุมของล าน้ าที่ไหลมาเชื่อมกันมักเป็นมุมแหลม
                       รูปแบบนี้มักพบได๎มาก

                                        2) แบบรูปทางน้ าร๎านเถาองุํน  (trellis  drianage  pattern)  เป็นรูปแบบการ
                       ระบายน้ าที่ปรากฏบนลักษณะภูมิประเทศที่เป็นรอยเลื่อน (fault)  หรือรอยแยก  (joint)  ล าน้ าไหล
                       ขนานกันมาตามแนวรอยเลื่อนและไหลมารวมกันกับล าธารสายหลักเป็นมุมฉากหรือเกือบฉาก
                                        3) แบบรูปทางน้ าตั้งฉาก (rectangular  drainage  pattern)  เป็นรูปแบบการ

                       ระบายน้ าที่ล าธารสายยํอยด๎วยกันหรือล าธารสายยํอยกับสายหลักมาสบกันเป็นมุมฉาก  นอกจากนี้
                       แนวโค๎งของล าน้ าทุกสายในระบบจะเป็นมุมฉากเชํนเดียวกัน และจะมีระยะการหักงอของล าน้ าเกือบ
                       เทํากัน เนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศ
                                        4) แบบรูปทางน้ ารัศมี (radial drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าที่

                       ล าน้ าสายหลักและล าน้ าสาขาจะไหลออกไปทุกทิศทางจากที่สูง เชํน รูปแบบการระบายน้ าที่เกิดขึ้น
                       ตามลักษณะภูมิประเทศแบบโดม กรวยภูเขาไฟ หรือเนินเขาที่อยูํอยํางโดดเดี่ยว
                                        5) แบบรูปทางน้ าสับสน (deranged  drainage  pattern)  เป็นรูปแบบการ

                       ระบายน้ าในบริเวณที่ปกคลุมไปด๎วยธารน้ าแข็งที่เกิดขึ้นอยํางไมํมีระเบียบ ท าให๎รูปแบบการระบายน้ า
                       สับสน เชํน รูปแบบการระบายน้ าที่ปรากฏในประเทศฟินแลนด์
                                        6) แบบรูปทางน้ าขนาน (parallel drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบาย
                       น้ าของล าน้ าสายหลัก และล าน้ าสาขามีทิศทางการไหลขนานกัน หรือเกือบขนานกันไปในแนวทิศทาง
                       เดียวกันตลอด

                                        7) แบบรูปทางน้ าวงแหวน (annular  drainage  pattern)  เป็นรูปแบบการ
                       ระบายน้ าตามแนวระดับ ซึ่งมีทิศทางการไหลของล าน้ าตามรอยแยกของชั้นหินมีลักษณะเป็นสํวนหนึ่ง
                       ของวงแหวนหรือเกือบเป็นวงแหวน โดยจะไหลไปรวมกันกับล าน้ าสายหลักเพื่อระบายลงสูํที่ต่ าตํอไป

                       มักพบรูปแบบการระบายน้ าแบบนี้บริเวณเชิงเขาของลักษณะภูมิประเทศแบบโดม
                                  พื้นที่ลุ่มน้ า หมายถึง หนํวยของพื้นที่ซึ่งล๎อมรอบด๎วยสันปันน้ า เป็นพื้นที่รับน้ าฝนของ

                       แมํน้ าสายหลักในลุํมน้ านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุํมน้ า น้ าจะไหลออกสูํล าธารยํอยๆ แล๎วรวมกัน
                       ออกสูํล าธารสายใหญํและรวมกันออกแมํน้ าสายหลักจนไหลออกปากน้ าในที่สุด (คณะที่ปรึกษากรม
                       พัฒนาที่ดิน, 2556) พื้นที่ลุํมน้ าแตํละแหํงจะมีขนาดไมํแนํนอน ขึ้นอยูํกับสภาพภูมิศาสตร์และ

                       วัตถุประสงค์ในการจัดแบํงพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการ (เกษม, 2551)

                                  ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า หมายถึง การแบํงเขตพื้นที่ลุํมน้ าตามลักษณะกายภาพ และศักยภาพ
                       ทางอุทกวิทยาและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์ในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล๎อมอยํางมี
                       ประสิทธิภาพในลุํมน้ านั้นๆ แบํงเป็น 5 พื้นที่ ประกอบด๎วย (ส านักสิ่งแวดล๎อมภาคที่ 8, 2547)
                                        1) พื้นที่ลุํมน้ าชั้น 1 เป็นพื้นที่ที่ควรจะสงวนรักษาไว๎เป็นพื้นที่ต๎นน้ าล าธาร

                       โดยเฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล๎อมจากการเปลี่ยนแปลงการ
                       ใช๎ที่ดินได๎งํายและรุนแรง แบํงออกเป็น 2 ระดับชั้นยํอย คือ พื้นที่ลุํมน้ าชั้น 1 เอ ซึ่งยังคงมีสภาพป่า
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18