Page 18 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         8







                       หลักการเชิงวิทยาศาสตร์มากที่สุด และเป็นระบบที่นักวิทยาศาสตร์ทางดินในประเทศไทยใช๎ในการ
                       จ าแนกดิน (เอิบ, 2548)
                                        อนุกรมวิธานดินเป็นระบบการจ าแนกดินแบบหลายขั้น (multicategorical
                       classification  system)  และแบํงกลุํมของชั้นตํางๆ ออกเป็นขั้นสูงและขั้นต่ าตามกฎเกณฑ์ โดยใน

                       การจ าแนกขั้นสูงนั้นจะใช๎ข๎อจ ากัดเดํนที่ครอบคลุมลักษณะปลีกยํอยในชั้นของการจ าแนกขั้นต่ าไว๎
                       อยํางชัดเจน ขั้นการจ าแนกทั้งหมดในระบบมีอยูํ 6 ขั้น โครงสร๎างของระบบหรือความเกี่ยวข๎องกัน
                       ของขั้นการจ าแนกจากขั้นสูงไปจนถึงขั้นต่ า คือ
                                            ขั้นของการจ าแนกขั้นสูง (higher categories)

                                                   อันดับ (order)
                                                           อันดับยํอย (suborder)
                                                                  กลุํมดินใหญํ (great group)
                                                                         กลุํมดินยํอย (subgroup)

                                            ขั้นของการจ าแนกขั้นต่ า (lower categories)
                                                   วงศ์ดิน (family)
                                                           ชุดดิน (series)

                                  กลุ่มชุดดิน (groups  of  soil  series)  เป็นหนํวยของแผนที่ดินที่กรมพัฒนาที่ดิน
                       พัฒนาขึ้นมา โดยการรวมชุดดินที่มีลักษณะ สมบัติดินที่มีศักยภาพคล๎ายคลึงกันในด๎านที่มีผลตํอการ
                       เจริญเติบโตและให๎ผลผลิตของพืชที่ปลูก เพื่อประโยชน์ในการให๎ค าแนะน า การตรวจสอบลักษณะดิน
                       การใช๎ที่ดินและการจัดการดินที่เหมาะสม โดยกลุํมชุดดินแตํละกลุํมจะมีสมบัติดินที่เฉพาะ ตามปัจจัย
                       การเกิดดินและการสร๎างดิน ได๎จัดจ าแนกเป็น  62  กลุํมชุดดิน โดยแบํงตามสภาพที่พบออกเป็นกลุํม

                       ใหญํๆ ได๎ 3 กลุํม ได๎แกํ กลุํมชุดดินในพื้นที่ลุํมหรือพื้นที่น้ าขัง กลุํมชุดดินในพื้นที่ดอนและกลุํมชุดดิน
                       ที่มีความลาดชันสูง (ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช๎ที่ดิน, 2548)
                                        1) กลุํมชุดดินในพื้นที่ลุํมหรือพื้นที่น้ าขัง พบในบริเวณที่ลุํม การระบายน้ าของ

                       ดินเลวมาก เลว หรือคํอนข๎างเลว มักมีน้ าแชํขังในฤดูฝน ไมํเหมาะส าหรับเพาะปลูกพืชไรํ ไม๎ผล และ
                       ไม๎ยืนต๎น ประกอบด๎วยกลุํมชุดดินดังตํอไปนี้
                                            (1) กลุํมชุดดินที่เป็นดินเหนียว ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 1 3 4 5 6 และ 7
                                            (2) กลุํมชุดดินที่มีการยกรํอง ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 8

                                            (3) กลุํมชุดดินที่เป็นดินเปรี้ยวจัด ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 2 9 10 11 และ 14
                                            (4) กลุํมชุดดินที่เป็นดินเลนชายทะเล ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 12 และ 13
                                            (5) กลุํมชุดดินที่เป็นดินทรายแป้งที่เกิดจากตะกอนล าน้ า ได๎แกํ กลุํมชุดดิน
                       ที่ 15 และ 16

                                            (6) กลุํมชุดดินที่เป็นดินรํวนละเอียด ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 17 และ 18
                                            (7) กลุํมชุดดินที่เป็นดินรํวนหยาบ ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 19 21 22 และ 59
                                            (8) กลุํมชุดดินที่เป็นดินเค็ม ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 20
                                            (9) กลุํมชุดดินที่เป็นดินทราย ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 23 และ 24

                                            (10) กลุํมชุดดินที่เป็นดินตื้น ได๎แกํ กลุํมชุดดินที่ 25
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23