Page 16 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         6







                                  ธรณีวิทยา (geology) หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งเกี่ยวข๎องกับประวัติของสสาร
                       ที่เป็นองค์ประกอบของโลกและสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลก โดยเฉพาะอยํางยิ่งที่ปรากฏรํองรอยอยูํในหิน
                       ตํางๆ ธรณีวิทยามี 3 สาขาหลักคือ ธรณีวิทยาโครงสร๎างหรือธรณีแปรสัณฐาน ธรณีวิทยาพลวัตและ
                       ธรณีวิทยาประวัติ (คณะกรรมการจัดท าปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                                  สัณฐานวิทยาดิน (soil  morphology)  หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงลักษณะ รูปรํางของ
                       หน๎าตัดดิน เชํน สีดิน จุดประ เนื้อดิน โครงสร๎างดิน การยึดตัวของดิน คราบดินเหนียว วัตถุต๎นก าเนิด
                       ดิน การเรียงตัวของชั้นดิน ซึ่งสามารถสังเกตและตรวจสอบได๎ทั้งในสนามและห๎องปฏิบัติการ
                       (คณะกรรมการจัดท าปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                                  การส ารวจดิน (soil  survey)  หมายถึง การส ารวจหาข๎อมูลทางวิทยาศาสตร์ของดิน
                       ตลอดจนสภาพแวดล๎อม โดยวิธีการทางสนามและห๎องปฏิบัติการแล๎วน ามาบันทึกในรูปของแผนที่
                       และรายงาน (ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช๎ที่ดิน, 2551) ข๎อมูลและข๎อสนเทศตํางๆ ที่ได๎มาจาก
                       การส ารวจดินนี้เป็นข๎อมูลพื้นฐานที่นักวิทยาศาสตร์ทุกคนยอมรับวําสามารถน าเอาไปใช๎ในกิจกรรม

                       สาขาตํางๆ ที่มีสํวนเกี่ยวข๎องกับดิน โดยเฉพาะอยํางยิ่งในทางการเกษตรกรรม (ภูษิต, 2551) ส าหรับ
                       ประเทศไทยได๎แบํงการส ารวจและท าแผนที่ดินออกเป็น 6 ระดับ (ภูษิต, 2551; ส านักส ารวจดินและ
                       วางแผนการใช๎ที่ดิน, 2551) คือ

                                        1) การส ารวจดินแบบหยาบมากหรือแบบกว๎าง (exploratory survey) เป็นการ
                       ส ารวจดินเพื่อใช๎ข๎อมูลในการวางแผนระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศ และใช๎เป็นแนวทางในการ
                       วางแผนการศึกษาขั้นละเอียดตํอไป แผนที่ที่ใช๎ในการส ารวจดินในสนามมีมาตราสํวน 1:250,000 ถึง
                       1:1,000,000  แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวน 1:1,000,000  หรือมาตราสํวนเล็กกวํา
                       ขอบเขตของดินแตํละหนํวยที่แสดงไว๎ในแผนที่ดิน อาศัยการแปลภาพถํายทางอากาศหรือภาพจาก

                       ดาวเทียม โดยใช๎ข๎อมูลพื้นฐานและปัจจัยตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องกับการเกิดดินเป็นแนวทาง เชํน ข๎อมูลทาง
                       ธรณีวิทยา ธรณีสัณฐานวิทยา พืชพรรณและการใช๎ประโยชน์ที่ดิน สภาพภูมิอากาศ ประกอบกับการ
                       ตรวจสอบดินในสนามเป็นบางจุด โดยทั่วไปจะเป็นไปในแนวตัดขวางกับสภาพพื้นที่และธรณีวิทยา

                                        2) การส ารวจดินแบบหยาบ (reconnaissance  survey)  เป็นการส ารวจดิน
                       เพื่อใช๎ข๎อมูลในการวางแผนระดับภาคหรือระดับประเทศ เพื่อให๎ทราบถึงศักยภาพของพื้นที่ในการ
                       พัฒนา และใช๎เป็นแนวทางในการวางแผนการศึกษาขั้นละเอียดตํอไป แผนที่ที่ใช๎ในการส ารวจดินใน
                       สนามมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:75,000 ถึง 1:200,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํ

                       ระหวําง 1:100,000 ถึง 1:500,000 ขอบเขตของดินอาศัยการแปลภาพถํายทางอากาศหรือภาพจาก
                       ดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินในสนามในแนวตัดขวางกับสภาพพื้นที่และธรณีวิทยา โดย
                       ระยะและปริมาณจุดที่ตรวจสอบดินจะมากกวําการส ารวจดินแบบหยาบมาก โดยก าหนดไว๎ประมาณ
                       12.5 ตารางกิโลเมตร ตํอ 1 จุดตรวจสอบดิน (8,000 ไรํ/1 จุด)

                                        3) การส ารวจดินแบบคํอนข๎างหยาบ (detailed  reconnaissance  survey)
                       เป็นการส ารวจดินเพื่อใช๎ข๎อมูลในการวางแผนระดับจังหวัดหรือโครงการขนาดใหญํ เพื่อให๎ทราบถึง
                       ศักยภาพของพื้นที่ในการพัฒนาในเบื้องต๎น เพื่อใช๎เป็นแนวทางในการก าหนดพื้นที่ที่จะพัฒนา หรือ
                       เพื่อศึกษาในรายละเอียดตํอไป แผนที่ที่ใช๎ในการส ารวจดินมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:40,000  ถึง

                       1:100,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:50,000 ถึง 1:100,000 ขอบเขต
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21