Page 20 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10







                       ของบริเวณที่มีลักษณะเดํนเป็นที่รู๎จักกันอยํางแพรํหลาย (คณะกรรมการจัดท าปทานุกรมปฐพีวิทยา,
                       2551)
                                  ดินคล้าย (soil  variant) เป็นหนํวยแผนที่ดินที่มีลักษณะเดียวกับหนํวยดินเดี่ยว แตํมี
                       ลักษณะแตกตํางจากชุดดินที่เคยก าหนดไว๎แล๎ว มีลักษณะเดํนชัดพอที่จะก าหนดเป็นชุดดินใหมํได๎ตาม

                       ระบบการจ าแนกดิน แตํเนื้อที่ที่พบจากการส ารวจยังน๎อยกวํา 8 ตารางกิโลเมตร จึงแยกเป็นดินอีก
                       หนํวยหนึ่งโดยให๎ชื่อชุดดินที่มีลักษณะใกล๎เคียงมากที่สุดแล๎วก ากับด๎วยลักษณะที่แตกตํางกับดินที่ให๎
                       ชื่อ (คณะกรรมการจัดท าปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)
                                  ประเภทดิน (soil phase) เป็นลักษณะและสมบัติของดิน หรือสภาพแวดล๎อมที่มีผลตํอ

                       การใช๎ประโยชน์ที่ดินและการจัดการดิน จะใช๎ประกอบเพิ่มเติมจากหนํวยจ าแนกดินระดับตํางๆ ที่ใช๎
                       เป็นหนํวยแผนที่ดิน เพื่อแสดงรายละเอียดและให๎มีความหมายมากขึ้นกวําหนํวยจ าแนกดิน
                       โดยเฉพาะการส ารวจดินระดับคํอนข๎างละเอียดถึงละเอียดมาก เพื่อการวางแผนในระดับโครงการ
                       ระดับไรํนาจนถึงการศึกษาวิจัย หนํวยแผนที่ดินและข๎อมูลดินจ าเป็นต๎องมีรายละเอียดมากพอที่จะ

                       สามารถบํงบอกถึงสภาพปัญหาของดินในพื้นที่ และแนวทางการจัดการดินที่สามารถน าไปปฏิบัติได๎
                       (ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช๎ที่ดิน,  2551) ชนิดของประเภทดินที่พบและคาดวําจะพบใน
                       ประเทศไทย ได๎แกํ

                                        1) เนื้อดินบน (surface texture) เนื้อดินตอนบนที่มีขนาดเล็กกวํา 2 มิลลิเมตร
                       เฉลี่ยตั้งแตํผิวดินจนถึงความลึก 25 เซนติเมตร หรือถึงแนวสัมผัสแข็งหรือกึ่งแข็งถ๎าตื้นกวําดินตอนบน
                       มีความส าคัญตํอการเจริญเติบโตของรากพืช โดยทั่วไปมีความเหมาะสมส าหรับพืชทั้งกายภาพ เคมี
                       และชีวภาพมากกวําดินในชั้นอื่นๆ เป็นแหลํงสะสมธาตุอาหาร น้ าและสิ่งมีชีวิตในดิน แบํงออกเป็น 12
                       ชั้น ได๎แกํ ดินทราย (s : sand) ดินทรายปนดินรํวน (ls : loamy sand) ดินรํวนปนทราย (sl : sandy

                       loam) ดินทรายแป้ง (si : silt) ดินรํวนปนทรายแป้ง (sil : silt loam) ดินรํวน (l : loam) ดินรํวน
                       เหนียวปนทราย (scl : sandy clay loam) ดินรํวนปนดินเหนียว (cl : clay loam) ดินรํวนเหนียวปน
                       ทรายแป้ง (sicl : slity clay loam) ดินเหนียวปนทรายแป้ง (sic : silty clay) ดินเหนียวปนทราย

                       (sc : sandy clay) และดินเหนียว (c : clay)
                                        2) ชิ้นสํวนเนื้อหยาบ (coarse fragments) ชิ้นสํวนที่มีขนาด 2 มิลลิเมตร หรือ
                       ใหญํกวํา ที่ปะปนอยูํในเนื้อดินตามชั้นดินตํางๆ และที่กระจัดกระจายบนผิวดิน ซึ่งจะกระทบตํอการ
                       เจริญเติบโตของพืช ปริมาณความชื้น ธาตุอาหาร การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการใช๎เครื่องมือ

                       หรือเครื่องจักรกล พิจารณาได๎ 2 ลักษณะ ดังนี้
                                            - ชิ้นสํวนหยาบที่อยูํปะปนกับเนื้อดินภายในชั้นดิน ใช๎พิจารณารํวมกับเนื้อ
                       ดินที่มีขนาดเล็กกวํา 2 มิลลิเมตร มีหนํวยเป็นร๎อยละโดยปริมาตร โดยเป็นค าคุณศัพท์ขยายเนื้อดิน
                       แบํงออกเป็น 5 ชั้น (ตารางที่ 1)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25