Page 14 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         4







                       สมบูรณ์ปรากฏอยูํในปี พ.ศ. 2525 และพื้นที่ลุํมน้ าชั้น 1 บี ซึ่งสภาพป่าสํวนใหญํในพื้นที่ได๎ถูกท าลาย
                       ดัดแปลงไปหรือเปลี่ยนแปลงไป เพื่อพัฒนาการใช๎ที่ดินรูปแบบอื่นกํอนหน๎าปี พ.ศ. 2525 และการใช๎
                       ที่ดินหรือการพัฒนารูปแบบตํางๆ ที่ด าเนินการไปแล๎ว จะต๎องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
                                        2) พื้นที่ลุํมน้ าชั้น 2 เป็นพื้นที่ที่มีคุณภาพเหมาะสมตํอการเป็นต๎นน้ าล าธารใน

                       ล าดับรองมา และสามารถน ามาใช๎ประโยชน์เพื่อกิจการที่ส าคัญได๎ เชํน การท าเหมืองแรํ การท าป่าไม๎
                       เป็นต๎น แตํต๎องควบคุมวิธีการปฏิบัติในการใช๎ที่ดินอยํางเข๎มงวดกวดขัน และการใช๎ที่ดินเพื่อกิจกรรม
                       ทางด๎านการเกษตรกรรม ควรหลีกเลี่ยงอยํางเด็ดขาด
                                        3) พื้นที่ลุํมน้ าชั้น 3 เป็นพื้นที่ที่โดยทั่วไปให๎ใช๎พื้นที่ในกิจกรรมป่าไม๎ เหมืองแรํ

                       กสิกรรม หรือกิจการอื่นๆ แตํต๎องมีการควบคุมวิธีการปฏิบัติอยํางเข๎มงวดให๎เป็นไปตามหลักอนุรักษ์
                       ดินและน้ า
                                        4) พื้นที่ลุํมน้ าชั้น 4 เป็นพื้นที่ที่ให๎ใช๎ทุกกิจกรรม แตํหากใช๎พื้นที่เพื่อการ
                       เกษตรกรรม ต๎องเป็นบริเวณที่มีความลาดชันไมํเกิน 28 เปอร์เซ็นต์ และต๎องมีการวางแผนใช๎ที่ดิน

                       ตามมาตรการการอนุรักษ์ดินและน้ า
                                        5) พื้นที่ลุํมน้ าชั้น 5 เป็นพื้นที่โดยทั่วไปที่เป็นที่ราบหรือที่ลุํม ซึ่งสามารถใช๎พื้นที่
                       ได๎ทุกกิจกรรม

                              3.2 การพัฒนาที่ดิน
                                  การพัฒนาที่ดิน (land development) หมายถึง การกระท าใดๆ ตํอดินหรือที่ดินเพื่อ

                       เพิ่มประสิทธิภาพของดินหรือที่ดินหรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให๎สูงขึ้น และหมายความรวมถึง
                       การปรับปรุงบ ารุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติหรือขาดความอุดมสมบูรณ์
                       เพราะการใช๎ประโยชน์ และการอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อรักษาดุลธรรมชาติหรือเพื่อเพิ่มความเหมาะสม

                       ในการใช๎ประโยชน์ที่ดินในทางเกษตรกรรม (กรมพัฒนาที่ดิน, 2554; คณะที่ปรึกษากรมพัฒนาที่ดิน,
                       2556)
                                  เขตพัฒนาที่ดิน (zone of land development) หมายถึง พื้นที่ลุํมน้ ายํอยๆ ที่ได๎รับ
                       การคัดเลือกให๎พัฒนา โดยการบูรณาการกิจกรรมที่เกี่ยวข๎องของกรมพัฒนาที่ดิน เชํน การส ารวจและ
                       วางแผนการใช๎ที่ดิน การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน และฟื้นฟูดินที่มีปัญหา

                       ทางการเกษตร มุํงหวังให๎สามารถใช๎ประโยชน์ได๎อยํางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตลอดจนเป็นพื้นที่
                       สาธิตการพัฒนาที่ดินอยํางเป็นระบบ (ส านักนิเทศและถํายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน, 2551)

                              3.3 พื้นที่สูง
                                  พื้นที่สูง (highland) นักวิชาการได๎ให๎ค าจ ากัดความไว๎หลายประการ คือ

                                  พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์ หรือมีความสูงกวําระดับทะเลปานกลาง
                       500 เมตรขึ้นไป ประกอบด๎วยพื้นที่ที่แวดล๎อมด๎วยภูเขา และมีสภาพภูมิประเทศสูงชันและ
                       สลับซับซ๎อน (ส านักบริการวิชาการ, 2544)
                                  ราชบัณฑิตสถาน  (2523) ให๎ค าจ ากัดความไว๎วํา พื้นที่ที่มีระดับสูงขึ้นจากบริเวณรอบๆ

                       ตั้งแตํ 600 เมตรขึ้นไป เป็นบริเวณที่มีความลาดชันมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเป็นพื้นที่ลาดชัน
                       เชิงซ๎อน (กองส ารวจดิน, 2529) แตํจากรายงานผลการสัมมนาการเกษตรภาคเหนือ (กระทรวงเกษตร
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19