Page 20 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         8





                             3.6 ธรณีวิทยา (geology)
                                3.7.1 ธรณีวิทยา (geology)  หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก อันได้แก่ การศึกษา

                  ส่วนประกอบ เช่น ส่วนของเปลือกโลก โครงสร้างของโลก ศึกษาขบวนการที่กระท้าต่อเปลือกโลก เช่น
                  อิทธิพลของธาร น้้าไหล อิทธิพลของลมและน้้าทะเล และศึกษาประวัติความเป็นมาของโลก (อภิสิทธิ์,

                  2516)

                                3.7.2 ธรณีสัณฐานวิทยา (geomorphology)  หมายถึง สาขาธรณีวิทยาที่ว่าด้วยพื้นผิว
                  ของโลก    ซึ่งประมวลเอาทั้งรูปร่างธรรมชาติ กระบวนการก้าเนิดและการพัฒนาตัว ตลอดจนความ

                  เปลี่ยนแปลง      ที่ประสบในปัจจุบัน (อภิสิทธิ์, 2530) หรืออีกความหมายหนึ่งคือ สาขาธรณีวิทยาที่ว่าด้วย

                  พื้นผิวของโลก   ซึ่งประมวลเอาทั้งรูปร่างธรรมชาติ กระบวนการก้าเนิดและการปรับตัวของพื้นผิวโลก
                  ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงที่ประสบในปัจจุบัน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2549)

                             3.7 การส ารวจดิน (soil survey)
                                3.7.1 ดิน (soils)  หมายถึง  อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไม่จับตัวแข็งเป็นหิน ซึ่งปกคลุม

                  พื้นผิวโลก เป็นตัวกลางธรรมชาติส้าหรับการเจริญเติบโตของพืช หรือ อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไม่จับ
                  ตัวแข็งเป็นหินซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยด้านการก้าเนิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่ ภูมิอากาศ

                  สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพภูมิประเทศ วัตถุต้นก้าเนิดและระยะเวลา ความเหมาะสมต่อการผลิตพืชของ

                  ดินแตกต่างกันเนื่องมาจากลักษณะและสมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และสัณฐาน (คณะกรรมการจัดท้า
                  ปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2541)

                                3.7.2 การส้ารวจดิน (soil  survey) หมายถึง การใช้วิธีการศึกษาทางสนาม (field

                  method) และข้อสนเทศ (information) จากแหล่งต่างๆ มาประมวลเข้าด้วยกัน เพื่อแจกแจง (identify)
                  ให้ค้านิยาม (define) และจ้าแนก (classify) ชนิดต่างๆ ของดินในบริเวณที่ศึกษา แบ่งขอบเขตของบริเวณที่

                  เป็นดินชนิดต่างๆ ออกเป็นหน่วยดิน ซึ่งอาจจะเป็นหน่วยเดี่ยว หรือหน่วยผสมของดินหลายชนิดบนแผน
                  ที่ดิน และแปลความหมายข้อมูลต่างๆ ที่ได้รวบรวมจากการส้ารวจ เพื่อจุดประสงค์อันเป็นประโยชน์ (เอิบ,

                  2548)
                                      ส้าหรับประเทศไทยได้แบ่งการส้ารวจและท้าแผนที่ดินออกเป็น 6 ระดับ คือ

                                      1) การส้ารวจดินและแผนที่ดินละเอียดมากพิเศษ (special  very  detailed  soil

                  surveys and soil maps) การส้ารวจดินแบบนี้เป็นการส้ารวจดินที่ให้ข้อสนเทศทางดินอย่างละเอียดมาก
                  ใช้เพื่อจุดประสงค์ที่จะประเมินลักษณะของดินที่ต้องการใช้อย่างเข้มข้นมาก ในบริเวณเล็กๆ เช่น ในแปลง

                  ทดลองการเกษตร หรือในโครงการทางวิศวกรรมที่ละเอียด มาตราส่วนของแผนที่พื้นฐานในการส้ารวจและ

                  แผนที่พิมพ์ต้องใหญ่กว่า 1:5,000  ขนาดพื้นที่ขั้นต่้า (ขนาดขั้นต่้าของขอบเขตหน่วยแผนที่ดิน ไม่ว่าจะใน
                  แผนที่ดินมาตราส่วนใดใช้ประมาณ 1 ตารางเซนติเมตร ที่จะลงขอบเขตบนแผนที่ เท่ากับ 0.3 เฮกตาร์ หรือ

                  เล็กกว่า
                                         หน่วยแผนที่ดิน ใช้ประเภทของชนิดดิน (phase of soil types) ชุดดิน และดิน

                  คล้าย (soil variants) ที่ก้าหนดพิสัยความแตกต่างของประเภทดินอย่างแคบ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25