Page 16 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         4





                                3.1.4 พื้นที่ลุ่มน้้า (watershed area) หมายถึง พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้้า (divide)
                  เป็นพื้นที่รับน้้าฝนของแม่น้้าสายหลักในลุ่มน้้านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้้าจะไหลออกสู่ล้าธารสาย

                  ย่อยๆ (suborder) แล้วรวมกันออกสู่ล้าธารสายใหญ่ (order)     และรวมกันออกสู่แม่น้้าสายหลัก
                  (mainstream) จนไหลออกปากน้้า (outlet) ในที่สุด (ค้ารณ, 2552)

                                3.1.5 ต้นน้้า (head watershed) หมายถึง พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้้า มักเป็นพื้นที่สูง หรือ

                  บริเวณ  เทือกเขา ภูเขาต่าง ๆ ที่มีผลท้าให้ฝนที่ตกในบริเวณดังกล่าวไหลลงสู่พื้นที่ตอนล่างอย่างรวดเร็วใน
                  ฤดูฝน (กรมทรัพยากรน้้า, 2551) เป็นลุ่มน้้าที่อยู่บนที่สูงบริเวณที่เป็นต้นก้าเนิดของห้วยธารสายแรกๆ ส่วน

                  ใหญ่ จะเป็นพื้นที่สูงชัน ปกคลุมไปด้วยป่าไม้และมีฝนตกชุก มีคุณสมบัติเหมาะที่จะรองรับน้้าฝน สามารถ

                  ดูดซับและกักเก็บน้้าเป็นปริมาณมากๆ ไปไว้เป็นน้้าใต้ดิน เปรียบเสมือนอ่างเก็บน้้าธรรมชาติที่ค่อยๆ
                  ปลดปล่อยให้น้้าไหลซึม หล่อเลี้ยงล้าธารให้มีน้้าไหลสม่้าเสมอตลอดปี (นิวัติ, 2547) หรืออีกนัยหนึ่ง ต้นน้้า

                  ล้าธาร หมายถึง พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้้าซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันไปจนถึงสันปันน้้า ประกอบไปด้วยลุ่ม
                  น้้าสาขาและลุ่มน้้าขนาดเล็ก เป็นพื้นที่ต้นน้้าล้าธารที่รองรับน้้าฝนและปลดปล่อยน้้าท่าไหลรวมสู่แม่น้้า (ค้า

                  รณ, 2552)
                                3.1.6 น้้าท่า (runoff  or  streamflow) หมายถึง น้้าที่ไหลในล้าน้้าในลักษณะการไหล

                  สม่้าเสมอ    ปริมาณน้้าที่ไหลในล้าน้้าหรือล้าธารขึ้นอยู่กับขนาดของลุ่มน้้า (เกษม, 2551) และหมายถึง

                  ปริมาณน้้าใน ล้าธารที่เกิดจากน้้าฝน ผ่านกระบวนการเก็บกัก ณ จุดต่าง ๆ ภายในระบบและการระบายลง
                  สู่พื้นที่ตอนล่าง โดยแบ่งลักษณะการไหลเป็น 3  ลักษณะ คือ น้้าไหลบ่าหน้าผิวดิน (overland  flow) น้้า

                  ไหลภายในดิน (inter flow) และน้้าไหลใต้ผิวดิน (groundwater flow) (กรมทรัพยากรน้้า, 2551)

                                3.1.7 ลุ่มน้้าในประเทศไทย (watershed  of  Thailand) แบ่งได้เป็น 25  ลุ่มน้้าหลัก
                  (ส้านักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา, 2552) ได้แก่

                                      1) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าสาละวิน (รหัส 01)  ประกอบด้วย 17  ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่
                  19,105.94  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 11,941,213 ไร่  ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 9,401.18  ล้าน

                  ลูกบาศก์เมตร
                                      2) ลุ่มน้้าหลักแม่โขง (รหัส 02)  ประกอบด้วย 37  ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่ 57,188.60

                  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 35,742,875 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 28,302.20 ล้านลูกบาศก์เมตร

                                      3) ลุ่มน้้าหลักน้้าแม่กก (รหัส 03)  ประกอบด้วย 4  ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่ 7,299.83
                  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,562,394 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 3,630.11 ล้านลูกบาศก์เมตร

                                      4) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าชี (รหัส 04)  ประกอบด้วย 20 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่ 49,129.87

                  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 30,706,169 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 11,948.34 ล้านลูกบาศก์เมตร
                                      5) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้ามูล (รหัส 05) ประกอบด้วย 31 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่ 71,071.57

                  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 44,419,731 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 18,972.44 ล้านลูกบาศก์เมตร
                                      6) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าปิง (รหัส 06) ประกอบด้วย 20 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่ 34,499.39

                  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 21,562,119 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 9,043.77 ล้านลูกบาศก์เมตร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21