Page 18 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
18) ลุ่มน้้าหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก (รหัส 18) ประกอบด้วย 6 ลุ่มน้้าสาขา มี
พื้นที่ 13,093.05 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 8,183,156 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 12,871.94 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร
19) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าเพชรบุรี (รหัส 19) ประกอบด้วย 3 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่
6,260.17 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,912,606 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 1,548.20 ล้านลูกบาศก์
เมตร
20) ลุ่มน้้าหลักชายฝั่งทะเลประจวบคีรีขันธ์ (รหัส 20) ประกอบด้วย 5 ลุ่มน้้าสาขา
มีพื้นที่ 7,132.81 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,458,006 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 1,952.64 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร
21) ลุ่มน้้าหลักภาคใต้ฝั่งตะวันออก (รหัส 21) ประกอบด้วย 13 ลุ่มน้้าสาขา มี
พื้นที่ 26,067.89 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 16,292,431 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 22,260.80 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร
22) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าตาปี (รหัส 22) ประกอบด้วย 8 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่
13,561.81 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 8,476,131 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 13,026.66 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร
23) ลุ่มน้้าหลักทะเลสาบสงขลา (รหัส 23) ประกอบด้วย 3 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่
8,481.28 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 5,300,800 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 5,426.99 ล้านลูกบาศก์
เมตร
24) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าปัตตานี (รหัส 24) ประกอบด้วย 2 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่
3,654.87 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2,284,294 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 2,670 ล้านลูกบาศก์
เมตร
25) ลุ่มน้้าหลักภาคใต้ฝั่งตะวันตก (รหัส 25) ประกอบด้วย 13 ลุ่มน้้าสาขา มีพื้นที่
18,775.60 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 11,734,750 ไร่ ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายปี 22,396.60 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร
3.1.8 การจัดการลุ่มน้้า (watershed management) หมายถึง การจัดการพื้นที่เพื่อให้
ได้น้้าที่มีปริมาณมากพอ คุณภาพดี การไหลสม่้าเสมอ พร้อมทั้งควบคุมเสถียรภาพของดิน ลดความเสียหาย
จาก น้้าท่วม และจัดการใช้ทรัพยากรลุ่มน้้าอย่างมีประสิทธิภาพ (กรมทรัพยากรน้้า, 2551) เป็นการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติทั้งมวลที่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้้า โดยเน้นที่การผลิตน้้า การป้องกันแหล่งน้้าและ
ทรัพยากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับน้้า รวมทั้งการบรรเทาอุทกภัย การป้องกันดินพังและการดูแลรักษา
คุณค่าความสวยงามตามธรรมชาติในส่วนที่เกี่ยวข้องกับน้้า (นิวัติ, 2547) และเป็นการจัดการพื้นที่เพื่อให้ได้
น้้าในปริมาณที่มากพอ คุณภาพดี การไหลสม่้าเสมอ พร้อมทั้งควบคุมเสถียรภาพของดิน ลดความเสียหาย
จาก น้้าท่วมและจัดการใช้ทรัพยากรลุ่มน้้าอย่างมีประสิทธิภาพ (เกษม, 2551)