Page 22 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        10





                  และการแจกกระจายเชิงภูมิศาสตร์ของดิน เพื่อการวางแผนพัฒนาและด้าเนินการที่ค่อนข้างจ้ากัด เช่น
                  เหมาะส้าหรับใช้ส้ารวจประกอบการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาและด้าเนินการที่ค่อนข้างจ้ากัด เช่น

                  เหมาะส้าหรับใช้ส้ารวจประกอบการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาท้องถิ่นในระดับอ้าเภอ เช่น เพื่อการ
                  สร้างเขื่อน การวางแผนชลประทาน การระบายน้้า หรือการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ

                                         มาตราส่วนของแผนที่พื้นฐานเพื่อใช้ในการส้ารวจจะอยู่ในพิสัย 1:20,000  ถึง

                  1:50,000  และมาตราส่วนการพิมพ์แผนที่จะอยู่ในพิสัย 1:25,000  ถึง 1:60,000  ขนาดพื้นที่ขั้นต่้าที่จะลง
                  ขอบเขตบนแผนที่มีพิสัยระหว่าง 6 ถึง 36 เฮกตาร์ (37.5 ถึง 225 ไร่)

                                         แผนที่พื้นฐานที่ใช้ในการพิมพ์แผนที่ดิน จะใช้แผนที่สภาพภูมิประเทศที่มีความ

                  แน่นอน หรือแผนที่โมเสกควบคุม หรือกึ่งควบคุมของภาพถ่ายทางอากาศ (controlled  or  semi-
                  controlled photomosaics) ส่วนแผนที่พื้นฐานที่ใช้ในการส้ารวจภาคสนามใช้ภาพถ่ายทางอากาศ หน่วย

                  แผนที่ดินที่จะใช้ประเภทของชนิดดิน ของชุดดิน และของหน่วยดินคล้าย และมีหน่วยดินสัมพันธ์ หรือ
                  หน่วยดินเชิงซ้อนของหน่วยต่างๆเหล่านี้ปนอยู่ด้วย

                                      5) การส้ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้างหยาบ (detailed  reconnaissance  soil
                  surveys  and  soil  maps) การส้ารวจดินแบบนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับชนิด ลักษณะการแจกกระจายทาง

                  ภูมิศาสตร์ของดินของบริเวณที่ค่อนข้างกว้างขวาง ความหนานานของการเจาะดินส้ารวจใช้ 1 จุด ต่อ 1-2

                  ตารางกิโลเมตร หน่วยแผนที่ดินใช้ วงศ์ดิน ชุดดิน หน่วยดินคล้าย หน่วยดินสัมพันธ์ของชุดดิน และประเภท
                  ดินของหน่วยต่างๆที่กล่าวมาแล้วนี้ การส้ารวจดินระดับนี้จะมีประโยชน์มากกับการใช้ประเมินศักยภาพของ

                  บริเวณที่มีพัฒนาการในด้านการใช้น้อย หรือการประเมินศักยภาพของดินในการวางแผนการใช้ที่ดินใน

                  ภูมิภาคหนึ่งๆ แม้ว่าหน่วยแผนที่ดินจะมีหน่วยเจือปนอยู่มากก็ตาม แต่ก็ยังสามารถใช้ในการท้านายพืชที่
                  เหมาะสมในการปลูกประกอบการประเมินผลผลิต และหาแนวทางจัดการที่ดิน เป็นแผนที่ที่ใช้มากในระดับ

                  การวางแผนขั้นจังหวัด และขั้นภาค เช่น ในโครงการชลประทาน หรือโครงการระบายน้้า เป็นต้น
                                         แผนที่พื้นฐานที่ใช้ในการออกส้ารวจภาคสนาม ควรจะมีพิสัยของมาตราส่วน

                  ระหว่าง 1:40,000 ถึง 1:100,000 และมาตราส่วนของการพิมพ์แผนที่อยู่ในพิสัย 1:50,000 ถึง 1:100,000
                  (กรมพัฒนาที่ดิน ใช้ 1:100,000) และขนาดพื้นที่ขั้นต่้าสุดที่สามารถเขียนขอบเขตลงในแผนที่ได้มีพิสัย

                  ระหว่าง 25-100 เฮกตาร์ (156 ถึง 625 ไร่)

                                         แผนที่พื้นฐานในการพิมพ์ใช้แผนที่สภาพภูมิประเทศที่มีความแน่นอน หรือ
                  โมเสกของภาพถ่ายทางอากาศ ส่วนแผนที่พื้นฐานที่ใช้ในการออกส้ารวจส่วนใหญ่จะใช้ภาพถ่ายทางอากาศ

                  ที่ใหม่ๆ

                                      6) การส้ารวจดินและแผนที่ดินหยาบ (reconnaissance soil surveys and soil
                  maps) การส้ารวจดินแบบนี้เป็นการส้ารวจดินเพื่อรวบรวมข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับ ชนิด ลักษณะ และการแจก

                  กระจายเชิงภูมิศาสตร์ของดินต่างๆ ในบริเวณที่กว้างขวาง หน่วยของแผนที่ดินจะใช้หน่วยในขั้นการจ้าแนก
                  ระดับสูง เช่น กลุ่มดินใหญ่ หรือกลุ่มดินหลัก หรือหน่วยดินสัมพันธ์ ของหน่วยในขั้นจ้าแนกดินดังกล่าวและ

                  หน่วยอื่นๆ เช่น ชุดดิน วงศ์ดิน กลุ่มดินย่อยและประเภทที่ดิน (land  types)  ความหนาแน่นในการเจาะ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27