Page 23 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        11





                  ตรวจสมบัติของดินในสนามใช้ 1 หลุมต่อพื้นที่ 12.5 ตารางกิโลเมตร แผนที่ดินแบบนี้จะแสดงถึง
                  ความสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์กว้างๆ ระหว่างดิน ซึ่งแสดงความแตกต่างกันระหว่างภูมิภาค เพราะฉะนั้นจะ

                  เหมาะต่อการใช้วางแผนการพัฒนาระดับภาคและประเทศ และจะมีข้อมูลแสดงถึงบริเวณต่างๆ ที่สมควรจ้า
                  ท้าการส้ารวจขั้นละเอียดต่อไป

                                         มาตราส่วนของแผนที่พื้นฐาน มีพิสัยของมาตราส่วน 1:75,000  ถึง 1:200,000

                  และมาตราส่วนในการพิมพ์แผนที่ มีพิสัยระหว่าง 1:100,00  ถึง 1:500,000  ขนาดของพื้นที่ขั้นต่้า ที่
                  สามารถลงขอบเขตได้ในแผนที่ มีพิสัยระหว่าง 100 ถึง 2,500 เฮกตาร์ (625 ถึง 15,625 ไร่)

                                         แผนที่สภาพภูมิประเทศที่มีความแน่นอน และโมเสกของภาพถ่ายทางอากาศ ใช้

                  เป็นแผนที่พื้นฐานได้ทั้งเพื่อการพิมพ์แผนที่  และการออกศึกษาภาคสนาม และในบริเวณเริ่มต้นการส้ารวจ
                  ที่มีลักษณะของสภาพภูมิประเทศเป็นตัวแทนพอ อาจใช้ภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนใหญ่ประกอบ เพื่อ

                  ประโยชน์ในการก้าหนดหน่วยแผนที่ดินต่างๆ
                                      7) การส้ารวจดินและแผนที่ดินหยาบมาก (exploratory soil surveys and soil

                  maps) การส้ารวจดินแบบนี้ เป็นการส้ารวจดินที่มีการออกตรวจลักษณะดินภาคสนามน้อยมาก แต่ทุกจุดที่
                  มีการตรวจสอบในสนาม จะต้องลงต้าแหน่งไว้ในแผนที่ และแผนที่พื้นฐานในการส้ารวจ ควรมีมาตราส่วน

                  อยู่ในพิสัย 1:100,000  ถึง 1:250,000  แต่มาตราส่วนในการพิมพ์แผนที่ จะแตกต่างกันได้มากตั้งแต่

                  1:250,000 ถึง 1:1,000,000 ขนาดพื้นที่ต่้าสุด ที่ลงในขอบเขตของพื้นที่ มีพิสัยอยู่ในช่วง 625 ถึง 10,000
                  เฮกตาร์ และในบริเวณที่ไม่มีการตรวจลักษณะของดินในสนาม จะใช้การแปลความหมายจากข้อมูลทาง

                  ภูมิศาสตร์ ในการท้าแผนที่ดิน โดยวิธีการส้ารวจแบบนี้ จะใช้ข้อมูลต่างๆทางสภาพภูมิประเทศ สภาพ

                  ภูมิอากาศ ดิน พืชพรรณ และธรณีวิทยา ที่มีอยู่แล้วเข้าช่วยประกอบ เพื่อก้าหนดขอบเขตของหน่วยแผน
                  ที่ดินและใช้แผนที่สภาพภูมิประเทศเป็นหลัก

                                      8) การส้ารวจดินและแผนที่ดินแบบกว้าง (synthesis  or  schematic  soil
                  surveys and soil maps) การส้ารวจดินแบบนี้ปกติจะไม่มีการตรวจสอบลักษณะดินในสนามเอง หน่วย

                  แผนที่และขอบเขตของหน่วยแผนที่ดินทั้งหมด จะเขียนจากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว และแผนที่ที่มีอยู่แล้ว มาตรา
                  ส่วนในการพิมพ์ ปกติจะใช้ 1:1,000,000 หรือเล็กกว่า และจะใช้แผนที่สภาพภูมิประเทศเป็นแผนที่พื้นฐาน

                  ขนาดพื้นที่ที่เล็กที่สุดที่เขียนขอบเขตลงบนแผนที่ ประมาณ 10,000 เฮกตาร์ หรือใหญ่กว่า

                                         โดยทั่วไปในปัจจุบัน นอกจากแผนที่ดินทั่วไป ซึ่งท้าขึ้นเป็นครั้งคราวแล้ว การ
                  ส้ารวจดินและชนิดของแผนที่ดินที่ท้ากันมากในประเทศไทย เป็นแบบค่อนข้างหยาบลงไปถึงละเอียดมาก

                  ซึ่งใช้ประโยชน์ต่างๆกัน การส้ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้างหยาบ ซึ่งท้าเป็นรายจังหวัดทั้งประเทศและ

                  ขณะนี้ได้ท้าการส้ารวจเสร็จสิ้นแล้ว และที่ท้ากันมากที่สุดในขณะนี้คือ การส้ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้าง
                  ละเอียด ในบริเวณที่คาดว่าจะมีศักยภาพในการใช้เข้มข้นต่อไปและในโครงการที่ต้องการจะประเมิน

                  ศักยภาพของที่ดินประกอบการพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น เขื่อน การชลประทาน และการระบายน้้า เป็นต้น
                  ส้าหรับการส้ารวจขั้นละเอียดกว่า 2 ระดับที่กล่าวมา ใช้ในโครงการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดินทาง

                  การเกษตรเป็นส่วนใหญ่ (เอิบ, 2548) โดยในโครงการเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าห้วยน้้าเทินใช้การส้ารวจดินและ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28