Page 38 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 38

33

                             •  การปรับปรุงและบํารุงดินปกติจะตองไดกระทําไปพรอมๆ กัน กลาวคือ ภายหลังการ

                  ปรับปรุงดินจนสามารถนํามาใชทําการเกษตรไดแลว ก็จะตองทําการบํารุงดินเพื่อชวยใหดินมีสภาพ

                  เหมาะสมแกการเจริญเติบโตของพืช และมีความสามารถในการผลิตมากขึ้น
                             •  การจัดการระบบการปลูกพืช ก็เปนวิธีที่ชวยบํารุงความอุดมสมบูรณของดินไดวิธีหนึ่ง เปน

                  วิธีชวยชดเชยธาตุอาหารในดินที่พืชนําไปใช ทําใหดินคงความอุดมสมบูรณไดตลอดไป ระบบการปลูกพืชที่

                  ดีควรมีพืชตระกูลถั่วรวมอยูดวย เพราะจะทําใหดินไดรับธาตุไนโตรเจนซึ่งเปนธาตุอาหารหลักเพิ่มขึ้น การ

                  ปลูกพืชตระกูลถั่วตองคํานึงถึงลักษณะและคุณภาพของดินดวย
                             •  การอนุรักษดินและน้ํา หมายถึงการปองกันมิใหดินและน้ําเกิดการชะลางพังทลายสูญเสีย

                  ไป เพื่อรักษาความสมบูรณของดินไวใหใชประโยชนไดในระยะเวลายาวนานตลอดไป การอนุรักษดินและ

                  น้ําสามารถทําไดหลายวิธี ซึ่งแตละวิธียอมเหมาะสมสําหรับพื้นที่แตละแหงและใหคุณประโยชนตางกัน
                              มาตรการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมสําหรับเกษตรกรในประเทศไทยไดแก ระบบการปลูกพืช

                   เชน การปลูกพืชตามแนวระดับขวางลาดเขา การปลูกขาวไรในพื้นที่ลาดเท 20-50  เปอรเซ็นต   แลวใสปุย

                   วิทยาศาสตร ทําใหขาวเจริญเติบโตเร็วลดการสูญเสียดินไดถึง 74 เปอรเซ็นต การปลูกพืชสลับเปนแถบ ซึ่ง
                   เหมาะสําหรับพื้นที่ที่มีความลาดเทมาก เพื่อลดปริมาณและความเร็วของน้ําที่ไหลบาลงมาและเก็บกักน้ําไว

                   ใหพืชซึ่งปลูกในระหวางคันดิน มีน้ําใชตลอดฤดูเพราะปลูก นอกจากนี้ การไถพรวนดินใหถูกตองจะชวยลด

                   การสูญเสียดินได เชนการไถพรวนที่ระดับความลึกตางกัน เปนตน การใชวัสดุคลุมดิน เชน เศษพืชตางๆ จะ

                   ชวยรักษาความชื้นในดินและชวยเพิ่มอินทรียวัตถุในดินไดอีกดวย

                           5.4.2. การใชประโยชนที่ดิน
                             •  การใชประโยชนที่ดินไมเต็มที่   ตองใหเกษตรกรปรับเปลี่ยนเสียใหมใหเปนการใช

                  ประโยชนที่ดินแบบประณีตหรือแบบเขมขน ซึ่งเปนการเพาะปลูกแบบเพิ่มผลผลิตดวยการเพาะปลูกมาก

                  และตางๆชนิด มีการใชปจจัยการผลิตในระดับสูง โดยเฉพาะการคัดเลือกพันธุพืช การปรับปรุงระบบการ
                  ปลูกพืช ใหเปนแบบรวมหลายชนิด ผสมผสานแบบหมุนเวียน

                             •  การใชที่ดินผิดประเภทหรือไมเหมาะสมตอสมรรถที่ดิน  การบังคับใหเจาของที่ดินหรือ

                  เกษตรกรใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสมกับสมรรถนะที่ดินทําไดยาก แมแตการใชกฎหมายบังคับก็ยังมี

                  ปญหา วิธีเหมาะที่จะดําเนินการในขณะนี้ ไดแกการสรางความตระหนักถึงประโยชนที่จะไดรับจากการใช
                  ประโยชนที่ ดินใหตรงกับสมรรถนะที่ดิน และผลเสียจากการใชประโยชนที่ไมตรงกับสมรรถนะที่ดิน ทั้งใน

                  ระดับเจาของที่ดินและระดับพื้นที่ ลุมน้ํา หรือสิ่งแวดลอม

                           5.4.3. การวางแผนการใชประโยชนที่ดิน

                            เปนการกําหนดทางเลือกในการจัดการใชประโยชนที่ดิน ซึ่งถือวาเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด
                  ในการพัฒนาตนเองใหไดประโยชนสูงสุดไปจนถึงคนในรุนตอๆ ไป การใชประโยชนที่ดินใหไดประโยชน

                  สูงสุดมีหลักเกณฑดังนี้
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43