Page 42 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 42

37

                  อินทรียวัตถุในดิน โดยทั่วไปดินที่พบบริเวณที่มีความลาดชันมากๆ มักจะเปนดินตื้น ชั้นดินบนบาง บางแหง

                  อาจไมมีชั้นดินบนเลยก็ได มีโอกาสเกิดการชะลางหนาดินมาก ตางจากดินที่อยูบริเวณเชิงเนินที่มักจะมีดิน
                  ชั้นบนหนาและลึกมากกวา

                           6.3.4 สิ่งมีชีวิตหรือปจจัยทางชีวภาพ  หมายถึง พืชและสัตวทั้งขนาดใหญ ขนาดเล็ก ทั้งที่มองเห็น

                  และมองไมเห็นดวยตาเปลา  ซึ่งรวมถึง  มนุษยดวย  สิ่งมีชีวิตมีผลตอการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินหลาย

                  ประการ  ซากพืชและสัตว  เปนแหลงของอินทรียวัตถุในดิน  สัตวและจุลินทรียดิน  ชวยในการยอยสลาย
                  อินทรียวัตถุ

                               6.3.  5. เวลา   เราสามารถใชลักษณะและสมบัติบางประการของดินในการเปรียบเทียบอายุการเกิด

                  ดินได เชน ความลึกของดิน ความหนาของชั้นดิน สีของดิน เปนตน ชั้นดินที่มีการสะสม อินทรียวัตถุหนา

                  กวาแสดงวามีระยะเวลาในการเกิดดินมากกวา ดินลึกมีระยะเวลาการเกิดดินมากกวาดินตื้น หรือดินสีแดง
                  ผานกระบวนการเปลี่ยนแปลงมานานกวาดินสีดํา หรือสีน้ําตาล จึงถือวาดินสีแดงมีอายุมากกวา



                  6.4. การสํารวจและจําแนกดิน
                            การสํารวจดินคือการสํารวจหาขอมูลทางวิทยาศาสตรของดิน  ตลอดจนสภาพแวดลอม  โดยวิธีการ

                  ทางสนามและการวิเคราะหขอมูลในหองปฏิบัติการ  เพื่อใหทราบถึงความคลายคลึงและความแตกตางของ

                  ดินในแตละพื้นที่ แลวนํามาบันทึกในรูปของแผนที่และรายงานการสํารวจดิน
                                แผนที่และรายงานสํารวจดิน จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของดิน ขอบเขตและการแพรกระจาย

                  ลักษณะและสมบัติของดิน  สภาพแวดลอมของดิน ซึ่งเปนขอมูลพื้นฐานสําคัญในการนําไปใชประโยชน

                  ตางๆ ตามวัตถุประสงค เชน ดานการเกษตร ปาไม วิศวกรรม ชลประทาน สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม ภัย

                  ธรรมชาติตางๆ เปนตน
                           การจําแนกดินของประเทศไทยจะยึดถือระบบการจําแนกดินของกระทรวงเกษตร ประเทศ

                  สหรัฐอเมริกา ตั้งแตระบบป ค.ศ. 1938  (พ.ศ.2481) และตอมาในป พ.ศ. 2518 ไดเริ่มนําระบบอนุกรมวิธาน

                  ดิน (Soil Taxonomy) มาใชจนถึงปจจุบัน โดยจําแนกดินออกเปน 6 ขั้น คือ อันดับ อันดับยอย กลุมใหญ กลุม

                  ยอย วงศ และชุด (ดิน)


                  6.5. ชุดดิน

                           ชุดดินเปนขั้นการจําแนกดินต่ําสุดของระบบ ที่ใชลักษณะและสมบัติทางสัณฐาน กายภาพ เคมี แร
                  และจุลสัณฐาน ที่มีความสําคัญตอการใชประโยชนที่ดินและการจัดการดิน เชน  การจัดเรียงชั้นดิน    สีดิน

                  เนื้อดิน โครงสรางดิน ความเปนกรดเปนดางของดิน แรในดินและความชื้นในดิน เปนตน ซึ่งจะตองอาศัย

                  การศึกษาดินในสนามและการวิเคราะหดินจากหองปฏิบัติการเพื่อการจําแนกดินดวย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47