Page 43 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 43

38

                           ปจจุบันไดมีการศึกษาและตั้งชื่อชุดดินของประเทศไทยแลวกวา 300  ชุดดิน  โดยใชชื่อสถานที่ที่

                  พบดินนั้นเปนครั้งแรกเปนชื่อชุดดิน เชน ชุดดินลําปาง ชุดดินนครปฐม ชุดดินปากชอง ชุดดินกุลารองไห
                  เปนตน ซึ่งเปนสถานที่คนทั่วไปรูจัก ทําใหมองถึงพื้นที่บริเวณนั้นมีลักษณะและสมบัติดินเปนอยางไร



                  6.6. กลุมชุดดิน

                           เนื่องจากชุดดินตางๆ มีเปนจํานวนมาก และมีรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของดินที่
                  หลากหลาย จึงเปนการยากตอผูใชขอมูลและแผนที่  ที่ไมคุนเคยกับชื่อชุดดิน และไมสามารถจํารายละเอียด

                  เกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของชุดดินตางๆ ได

                           กรมพัฒนาที่ดิน ไดเขาใจถึงปญหานี้ ดังนั้น ในป 2532 จึงไดหาวิธีที่จะจัดกลุมของชุดดินขึ้นมา
                  โดยใชหลักเกณฑในการรวมชุดดินที่มีลักษณะ สมบัติ และศักยภาพในการเพาะปลูก รวมถึงการจัดการดินที่

                  คลายคลึงกัน มาไวเปนกลุมเดียวกัน จากดินกวา 300 ชุดดิน ไดจัดจําแนกใหมเปน 62 กลุมชุดดินดวยกัน

                  พรอมคําอธิบายสั้นๆ และเขาใจงาย เหมาะสําหรับเกษตรกรและผูสนใจทั่วไป

                           กลุมชุดดินที่ 1-25 และกลุมชุดดินที่ 57-59 จัดเปนกลุมชุดดินที่พบในพื้นที่ลุม การระบายน้ําของ
                  ดินไมดี มีน้ําแชขังในฤดูฝน ดินมีสีเทาหรือสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง สีแดง สวนใหญ

                  เหมาะสมสําหรับทํานา ไมเหมาะสําหรับเพาะปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตน

                           ชุดดินที่ 26-56 และ 60-62 เปนกลุมชุดดินที่พบบนพื้นที่ดอน การระบายน้ําดีสีน้ําตาล สีเหลือง สี
                  แดง มีทั้งดินตื้นและดินลึก สวนใหญเหมาะสมสําหรับปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตน

                  รายละเอียดของแตละกลุมชุดดิน กลาวโดยสรุปไดดังนี้

                           6.6.1. กลุมชุดดินในพื้นที่ลุม
                             ดินที่ลุม หมายถึง ดินที่เกิดอยูในบริเวณพื้นที่ต่ํา สภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือคอนขางราบเรียบ การ

                  ระบายน้ําของดินไมดี มักจะมีน้ําทวมขังที่ผิวดินและมีระดับน้ําใตดินตื้นในฤดูฝน ดินมีสีเทาหรือสีน้ําตาล

                  ปนเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลืองและสีแดง สวนใหญใชประโยชนในการทํานา เราจึงมักเรียกกันวา ดินนา

                  กลุมชุดดินในพื้นที่ลุม ประกอบดวย
                            กลุมชุดดินที่ 1 เปนกลุมดินเหนียวจัด ดินลึกมาก ดินบนสีดําหนา ดินลางสีเทา มีจุดประสีน้ําตาล

                  และสีแดง มักพบรอยแตกระแหงกวางและลึกในชวงฤดูแลง การระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง ความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูง

                                  กลุมชุดดินที่ 2 เปนกลุมดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกํามะถันในระดับลึกหรือเปนดินกรดจัดมาก
                  ดินลึกมาก สีเทา มีจุดประสีเหลือง สีน้ําตาลและสีแดง สวนใหญพบชั้นดินกรดกํามะถันระหวางความลึก

                  100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน การระบายน้ําเลว ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก ความอุดมสมบูรณปานกลาง

                                กลุมชุดดินที่ 3 เปนกลุมดินเหนียว ดินลึกมาก สีเทา มีจุดประสีเหลือง สีน้ําตาลและสีแดง เกิดจาก
                  ตะกอนน้ํากรอย และอาจพบชั้นดินเลนเค็มอยูในชั้นดินลาง การระบายน้ําเลว ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปน

                  ดางปานกลาง ความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48