Page 34 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 34
29
2) ดินเปรี้ยว มีเนื้อที่รามทั้งหมดประมาณ 8.2 ลานไร พบสวนใหญในพื้นที่ราบภาคกลาง
เชน บางสวนของจังหวัดปทุมธานี นครนายก สระบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และปราจีนบุรี สําหรับการดู
ลักษณะดินเปรี้ยวสังเกตไดจากน้ําในบอบริเวณที่มีดินเปรี้ยวจะใสเหมือนเอาสารสมไปแกวงและมีรสเปรี้ยว
เมื่อขุดดินลงไปอีก 50 - 150 เซนติเมตร. จะพบสารสีเหลืองคลายฟางขาวเปนจุดกระจายอยูในเนื้อดิน
3) ดินทรายจัด มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 7.1 ลานไร พบสวนใหญในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต
4) ดินที่มีชั้นดาน มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 0.6 ลานไร พบสวนใหญในภาคใต ดิน
ประเภทนี้เนื้อดินจะเปนทราย และมีชั้นดานจับตัวกันแข็งโดยมีเหล็กและฮิวมัสเปนตัวเชื่อม เกิดขึ้นกันใน
ระดับความลึก 2 เมตร แตสวนใหญเกิดขึ้นกวา 1 เมตร จากผิวดิน
5) ดินที่มีการยืดหดตัวสูง มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 2.1 ลานไร พบสวนใหญในภาค
กลางบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี สระบุรี และลพบุรี
6) ดินพรุ มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 505,000 ไร พบมากแถบภาคใตในพื้นที่จังหวัด
สงขลา นครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี ชุมพร ปตตานี แตที่เปนพื้นที่แปลงใหญคือ จังหวัดนราธิวาส เปนดิน
ที่เกิดจากการทับถมของสารอินทรียโดยเฉพาะพืชที่เนาเปอยทับถมอยูเปนชั้นหนาแตกตางกันตั้งแต 50
เซนติเมตร ถึง 3 เมตร เปนดินที่ไมอยูตัวขึ้นอยูกับระดับน้ํา ขาดธาตุอาหารที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของ
พืชเมื่อระบายน้ําออกใหดินแหง ดินจะกลายสภาพเปนกรดจัด
7) ดินปนกรวด มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 52,388,750 ไรพบกระจายอยูทั่วทุกภาค
8) ดินเหมืองแรราง มีเนื้อที่รวมกันประมาณ 159,000 ไร พบสวนใหญในจังหวัดพังงา ภูเก็ต
และระนอง หลังจากการทําเหมืองแลวดินจะถูกทําลายทั้งในสภาพพื้นที่และคุณภาพของดิน พื้นที่จะขรุขระ
เปนที่สูงๆ ต่ําๆ แรธาตุพืชถูกชะลางออกไปในระหวางทําเหมือง
9) ดินอินทรีย มีเนื้อที่รวมกัน 0.5 ลานไร
10) ดินตื้น มีเนื้อที่รวมกัน 51.3 ลานไร
11) ดินบนภูเขา มีเนื้อที่รวมกันประมาณ 96.1 ลานไร
จากลักษณะดินที่มีปญหาดังกลาว หากขาดการจัดการที่ถูกตองตามหลักวิชาการ นอกจากดินจะ
เสื่อมโทรมโดยตัวของมันเองแลว ยังจะเห็นการเรงใหเกิดความเสื่อมโทรมไดเร็วยิ่งขึ้น ทําใหเกิดปญหาการ
ขาดแคลนพื้นที่ทําการเกษตรมากขึ้น
ปญหาตางๆ เหลานี้ ลวนแลวเกิดจากการขาดการจัดการและการวางแผนการใชที่ดินอยางถูกตอง
และเหมาะสมตามหลักวิชาการ อยางไรก็ตาม ถึงแมเนื้อที่ถือครองทางการเกษตร จะมีอัตราเพิ่มขึ้น แตเมื่อ
พิจารณาสัดสวนของที่ดินเพื่อการเกษตรตอประชากร พบวามีแนวโนมลดลงจาก 2.5 ไรตอคน เหลือเพียง
2.2 ไรตอคน เนื่องมาจากอัตราการเพิ่มของประชากรสูงกวาอัตราการเพิ่มของพื้นที่เพื่อการเกษตร ดังนั้น เมื่อ
พิจารณาสถานการณในการใชประโยชนที่ดินนั้น มีแนวโนมสูงขึ้นตามอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร
และความเจริญเติบโตของสังคมมนุษย ที่ดินถูกนํามาใชประโยชนเพื่อการดํารงชีพมากขึ้น เชน ที่อยูอาศัย