Page 35 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 35
30
เกษตรกรรมเพื่อผลิตอาหาร โรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่สาธารณะ เปนตน การบุกรุกพื้นที่ปาไมเพื่อที่อยู
อาศัยและการเกษตรตางๆ เหลานี้ ลวนแตทําใหมีการใชประโยชนจากที่ดินมากขึ้น และมีแนวโนมจะเพิ่ม
มากขึ้นตามลําดับ ดวยเหตุผลดังกลาว ประกอบกับปญหาที่จะเกิดจากการใชประโยชนที่ดินตั้งแตอดีต
จนถึงปจจุบัน พบวาผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการใชประโยชนที่ดิน ยังไมมีการพัฒนาและวางแผนจัดการใช
ที่ดินอยางถูกตองและเหมาะสมเพียงพอ
การใชประโยชนจากที่ดินที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการ ทําใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมของดิน ซึ่ง
สงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอเกษตรกร ชุมชนและประเทศชาติ ปญหาของทรัพยากรดินและการ
ใชที่ดินจึงแยกได 2 ประการคือ ปญหาความเสื่อมโทรมของดินและปญหาการใชที่ดิน
5.2. สถานการณความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน มีสาเหตุทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากการใชที่ดินที่ไม
ถูกตองตามหลักวิชาการ ตัวอยางของปญหา เชน การชะลางพังทลายของดิน ดินขาดอินทรีย และปญหาที่เกิด
จากสภาพธรรมชาติของดินรวมกับการกระทําของมนุษย เชน ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินอินทรีย (พรุ) ดินทรายจัด
และดินตื้น พื้นที่ดินที่มีปญหาตอการใชประโยชนทางดานเกษตรกรรมของประเทศไทย ไดแก การชะลาง
พังทลายของดิน 108.87 ลานไร พื้นที่ที่มีปญหาการชะลางพังทลายของดินมากที่สุดคือ ภาคเหนือ ดินขาด
อินทรียวัตถุ 98.70 ลานไร ปญหาดินขาดอินทรียวัตถุประมาณรอยละ 77 อยูในพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ดินที่มีปญหาตอการใชประโยชนทางดานเกษตรกรรม 209.84 ลานไร ซึ่งสวนใหญอยู
ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนดินเค็ม ดินกรดและดินคอนขางเปนทราย อยูในพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ สําหรับการใชประโยชนที่ดินไมถูกตองตามศักยภาพ คิดเปนพื้นที่ 35.60 ลานไร
กรมพัฒนาที่ดินไดศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินของประเทศไทยโดยการแปลภาพถายทาง
อากาศ และขอมูลดาวเทียม และการตรวจสอบในสนาม ในป พ.ศ. 2523, 2529, 2541 และ 2544 พบวาใน
ขณะที่พื้นที่ปาไมลดลง พื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มขึ้น รวมทั้งพื้นที่ชุมชนที่เพิ่มขึ้นประมาณ 8 เทาตัวจาก พ.ศ.
2523 อยางไรก็ตาม เปนที่นาสังเกตวาตั้งแต พ.ศ. 2529-พ.ศ. 2541 พื้นที่นาไดลดลงประมาณ 3.5 ลานไร
พื้นที่นาที่ลดลงนั้นถูกเปลี่ยนสภาพไปเปนโรงงานอุตสาหกรรม ที่อยูอาศัย สนามกอลฟ รีสอรท หรือที่
พักผอนหยอนใจจํานวนมาก แตในชวงป พ.ศ. 2541-2544 พื้นที่นาไดเพิ่มขึ้นประมาณ 1.5 ลานไร เนื่องจาก
หลังวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 ไดมีการเคลื่อนยายแรงงานกลับสูภาคเกษตรมากขึ้น
5.3. หลักทฤษฎีการใชที่ดิน
ทรัพยากรที่ดินถือวาเปนทรัพยากรที่ไมสามารถเคลื่อนยายได และอยูหางไกลจากจุดศูนยกลางของ
เศรษฐกิจที่แตกตางกัน จะตองเสียคาขนสงในการนําเอาผลิตภัณฑมาสูศูนยกลางของธุรกิจ แหลงที่ตั้งของ
ทรัพยากรที่ดินจึงมีบทบาทสําคัญในการใชที่ดินเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลกระทบตอคาเชาและมูลคาของที่ดิน