Page 36 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 36

31

                  ความตองการการใชที่ดินขึ้นอยูกับความเหมาะสม  เพื่อตอบสนองประโยชนสูงสุดของผูใช  ทั้งผูผลิตและ

                  ผูบริโภค แนวความคิดที่สามารถประยุกตใชไดกับการใชประโยชนทรัพยากรที่ดินไดแก
                                5.3.1. ความไดเปรียบเสียเปรียบทางเศรษฐกิจ

                                5.32. ความสําคัญของระยะทางของทรัพยากรที่ดิน

                                5.3.3. ความแตกตางทางคุณภาพของทรัพยากรที่ดิน
                                5.3.4. ผลกระทบจากเมืองบริวารและตลาดอื่น ๆ

                                5.3.5. แหลงที่ตั้งของการใชที่ดิน



                          อนึ่ง ภูมิประเทศ (Topography) ลักษณะภูมิประเทศของที่ดินเปนสิ่งหนึ่งจะกําหนดการใชที่ดินนั้น
                  ควรจะเปนชนิดใด ที่ดินอาจจะเปนที่ราบ สูงชัน ไมสม่ําเสมอ เปนภูเขา หรือเปนที่ลุม สําหรับประเทศไทย

                  การแบงลักษณะภูมิประเทศของที่ดินออกเปน 7  ชนิดดวยกัน โดยยึดถือเอาความมากนอยของความลาดชัน

                  เปนหลัก ซึ่งสามารถแบงลักษณะภูมิประเทศของที่ดินออกเปนชนิดตางๆดังตอไปนี้

                                    •  พื้นที่ราบ เกือบราบ มีความลาดชัน 0 - 2  เปอรเซ็นต
                                    •  พื้นที่ราบลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชันเล็กนอยคือ 2 - 8 เปอรเซ็นต

                                    •  พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน ไดแกพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันปานกลางคือ 8 - 16  เปอรเซ็นต

                                    •  พื้นที่ที่เปนเขา เปนพื้นที่มีความชันมาก คือ 16 - 35  เปอรเซ็นต

                                    •  พื้นที่สูงชัน ไดแกที่ดินที่มีความลาดชัน 35 - 50 เปอรเซ็นต

                                    •  พื้นที่สูงชันมาก ไดแกพื้นที่มีความลาดชัน 50 - 70 เปอรเซ็นต

                                    •  พื้นที่สูงชันมากที่สุด ไดแกพื้นที่มีความลาดชันมากกวา 75 เปอรเซ็นต


                  5.4. การจัดการใชที่ดิน

                           ทรัพยากรที่ดินเปนสมบัติอันล้ําคาที่โลกมอบไวใหแกสัตวโลก เพื่อการดํารงชีพ และควรถือวาเปน

                  สมบัติอันล้ําคาของประเทศ ซึ่งมิอาจหาสิ่งหนึ่งสิ่งใดมาทดแทนได หากสูญเสียหรือเสื่อมโทรมลง ยิ่งไปกวา
                  นั้นชาติจะเจริญยิ่งใหญไดตองมีทรัพยากรที่ดินเปนพื้นฐาน จึงเปนสิ่งจําเปนที่ชนในชาติตองพยายามรักษา

                  ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรที่ดินที่มีอยู ใหไดนานที่สุดเทาที่จะเปนไปได

                          โดยที่ที่ดินจัดเปนทรัพยากรประเภท Renewable  resource  แตเนื่องจากประเทศไทยมีจํานวน
                  ประชากรเพิ่มขึ้นมาก เมื่อเปรียบเทียบกับอดีต จึงเหมือนกับวาทรัพยากรที่ดินมีนอยลง ทั้งยังมีปญหาตางๆ

                  อยางมากมายเกิดขึ้นกับทรัพยากรที่ดินที่มีอยูอยางจํากัด จนมีแนวโนมวาทรัพยากรที่ดินจะกลายเปน

                  ทรัพยากรประเภท  Non-renewable resources จึงนับวามีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองหาทางจัดการทรัพยากร
                  ที่ดินที่มีอยูอยางจํากัด ใหสามารถใชประโยชนไดเพียงพอกับความตองการใชที่เพิ่มมากขึ้น อยางมี

                  ประสิทธิภาพ ทั้งยังตองคํานึงถึงความจําเปนในการใชประโยชนในอนาคตอีกดวย อันหมายถึงปญหาและ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41