Page 136 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 136

131

                            ความสําคัญของการปลูกพืชในพื้นที่เฉพาะหลุม  การปลูกพืชในพื้นที่เฉพาะหลุมเปนการจัดปลูก

                  พืชตามหลักอนุรักษดินและน้ําอีกวิธีหนึ่ง  ซึ่งเปนวิธีการเกษตรกรรมแผนใหมที่ใชกับบริเวณพื้นที่ที่มีความ
                  ลาดชัน  โดยที่การปลูกพืชวิธีธรรมดาบนพื้นราบไมสามารถนําไปใชปฏิบัติได  เพราะเปนการเสี่ยงตอการชะ

                  ลางพังทลายของดินอยางรุนแรง

                                 อนึ่ง การเกษตรในพื้นที่สูงชันนั้น ถาใชวิธีปฏิบัติธรรมดายอมไมประสบผลสําเร็จ ประกอบกับ

                  เกษตรกรยังนิยมปลูกพืชแบบทําไรเลื่อนลอย มีการยายพื้นที่ปลูกอยูเรื่อยๆ เปนสาเหตุทําใหเกิดการชะลาง
                  พังทลายของดินอยางตอเนื่อง ดังนั้น การใชประโยชนสภาพที่สูงชันเพื่อการเกษตรนั้น จําเปนตองมี

                  มาตรการในการจัดปลูกพืชที่เหมาะสม พรอมทั้งใชมาตรการที่ดีอื่นๆ เขาชวยจึงจะสามารถทําใหการใช

                  ประโยชนบนพื้นที่ดังกลาวประสบผลสําเร็จ การปลูกพืชในพื้นที่เฉพาะหลุมเปนวิธีการใชไดผลดี และมี
                  ประโยชนตอการเกษตรบนพื้นที่ลาดชันสูง ดังนี้

                                 (1)  ชวยลดการชะลางพังทลายของดินอยางมีประสิทธิภาพเทาๆ  กับการปลูกพืชบนขั้นบันไดดิน

                  เพราะพื้นที่เฉพาะหลุมชวยลดปริมาณการไหลยาของน้ําฝนใหไหลซึมลงดินอยางชาๆ

                                (2)  เพิ่มประสิทธิภาพในการสงวนน้ําไวในดิน  จากการดูดซับน้ําฝนและน้ําที่ไหลบาผานผิวดินให
                  ซึมลึกลงในดิน บางสวนจะถูกดูดซับไวบริเวณรากพืชและชั้นดินบน

                                  (3) ชวยทําใหการใชปุยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพราะบริเวณหลุมที่ปรับปลูกพืชมีลักษณะพื้น

                  ราบ ปุยมีโอกาสถูกพัดพาโดยน้ําไหลบานอยลง
                                 (4) พื้นที่เฉพาะหลุมทําหนาที่เปนบอดักตะกอนธาตุอาหารตางๆและอินทรียวัตถุ ที่ถูกพัดพามาจาก

                  พื้นที่ตอนบน ทําใหดินบริเวณพื้นที่เฉพาะหลุมมีความอุดมสมบูรณเพิ่มขึ้นอยูเสมอ

                           (5) การปลูกพืชในพื้นที่เฉพาะหลุมสามารถปลูกในพื้นที่เฉพาะจุดที่เหมาะสมได ไมตองการพื้นที่
                  กวางใหญ และการปลูกไมจําเปนตองจัดปลูกเปนแถวเปนแนวตลอดอยางสม่ําเสมอกัน เชนในกรณีที่พื้นที่มี

                  หินโผลบางแหง หรือตอไมใหญขวางกั้น

                           (6)  เสียคาใชจายในการดําเนินการถูกกวาการสรางขั้นบันไดดิน คาเตรียมดินปลูกและดูแลรักษา
                  ประหยัดไดดีกวามาก เหมาะสําหรับเกษตรกรที่มีทุนและแรงงานนอย

                           (7) การปลูกพืชสามารถทําไดกอน แลวคอยปรับพื้นที่เฉพาะที่หลังการปรับพื้นที่ดําเนินจากหลุม

                  เล็กๆทยอยกันไปกอน ตอไปจึงปรับใหกวางขึ้น ทําใหเกษตรกรมีโอกาสจัดแบงแรงงานไปปฏิบัติภารกิจ

                  อยางอื่นไดงายและสะดวกขึ้น
                           (8)  การปลูกพืชในพื้นที่เฉพาะหลุมใหเปนไปตามแนวระดับหรือลดระดับเพียงเล็กนอยสามารถ

                  ดําเนินการปรับระดับพื้นที่ตอเนื่องกันจนกลายเปนขั้นบันไดดิน ชวยลดการชะลางพังทลายของดินบริเวณ

                  ขางเคียง

                           11.2.11. การคลุมดิน (Mulching)  หมายถึงการคลุมดินดวยวัตถุตางๆ เพื่อการอนุรักษดินและน้ํา
                  วัตถุที่ใชสําหรับคลุมดินนั้นอาจเปนอินทรียวัตถุ เชน เศษพืช ซากพืช ขี้เลื้อยและมูลสัตว เปนตน  หรืออาจ

                  เปนวัตถุที่สังเคราะหขึ้น เชน พลาสติก กระดาษ กระดาษอะลูมินั่ม เปนตน หรือการไถพรวนดิน ที่ทําใหผิว
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141