Page 132 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 132

127

                  ผลเสียของการปลูกพืชแบบไถพรวน มีดังนี้

                           (1) การไถพรวนดินทําใหดินอัดตัวกันแนน โดยเฉพาะดินในระดับต่ําจากชั้นไถพรวนลงไป ดิน
                  แนนเปนสาเหตุใหน้ําไหลซึมผานชั้นดินไดยาก อีกทั้งรากพืชไมสามารถชอนไซผานชั้นดินไดสะดวก

                           (2) การไถพรวนดินทําใหโครงสรางของดินแตกหักและถูกทําลายกระจายออกจากกัน เมื่อนานเขา

                  สภาพทางกายภาพของดินจะเสียไป ดินเปนกอนแข็งไมรวนซุย ชองอากาศในดินลดนอยลง

                           (3)  การไถพรวนเปนการเปดดินใหมีอากาศถายเทและการประกอบกิจกรรมของจุลินทรียมากขึ้น
                  ทําใหอินทรียวัตถุสลายตัวอยางรวดเร็ว และสูญเสียไปจากดินเปนสวนใหญ

                           (4) การไถพรวนเปนการทําลายสิ่งปกคลุมผิวดิน ดินอยูในสภาพวางเปลา ผิวหนาดินจึงรอนจัดใน

                  เวลากลางวัน การระเหยน้ําจากดินจึงเปนไปอยางรวดเร็ว
                           (5) การไถพรวนเปนการรบกวนดิน ทําใหดินเคลื่อนที่และแตกกระจายออกจากกัน เมื่อฝนตกลงมา

                  การชะลางพังทลายของดินจึงเกิดขึ้นอยางรุนแรง

                           (6)  การไถพรวน ทําใหธาตุอาหารพืชในดินมีการสูญเสียไปจากดิน โดยน้ําไหลบาและการระเหย

                  ไปในบรรยากาศ ดินจึงลดความอุดมสมบูรณลง
                           (7) การไถพรวนเตรียมดิน เปนการเพิ่มตนทุนการผลิตของเกษตรกร โดยเฉพาะคาการเตรียมดิน

                  ทั้งการไถและการพรวน

                  ผลดีของการปลูกพืชแบบไมไถพรวน มีดังนี้
                          (1) การไมไถพรวนชวยทําใหผิวดินมีสิ่งคลุมดิน (Surface mulch) เมื่อฝนตกลงมา เม็ดฝนไมอาจ

                  ตกกระทบผิวดินไดเต็มที่ อนุภาคของดินจึงไมแตกกระจาย การชะพังทลายของดินไมเกิดขึ้น นับวาเปนการ

                  อนุรักษดินที่ดี
                           (2) สงวนรักษาความชื้นไวในดิน โดยเฉพาะซากพืชที่ปกคลุมผิวดิน ชวยลดปริมาณน้ําไหลบา และ

                  ชวยใหการไหลซึมของน้ําผานดินเปนไปอยางสะดวกและรวดเร็ว ดินอุมน้ําไดดีขึ้น นอกจากนี้ซากพืชที่คลุม

                  ดินยังชวยลดปริมาณการระเหยน้ําจากดินไดดียิ่ง  มีรายงานวาดินที่ไมมีการไถพรวนจะมีความชื้นอยูในดิน

                  เปนปริมาณที่สูงกวาดินที่มีการไถพรวนแบบธรรมดา ภายใตการปลูกถั่วพุม และถั่วเหลือง
                         (3) เพิ่มความอุดมสมบูรณใหแกดิน  การไมไถพรวนชวยทําใหปริมาณไนโตรเจนสูงกวา  และความ

                  หนาแนนของดินต่ํากวาการไถพรวนธรรมดา ปริมาณธาตุอาหารตาง ๆ และอินทรียวัตถุยังคงอยูในดิน โดย

                  ไมถูกชะพังทลายสูญหายไปเมื่อมีการปลูกพืชแบบไมไถพรวน  เศษซากพืชและรากที่อยูในดินเมื่อแหงตาย
                  จะผุพังทลายตัวลงดิน เพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารใหแกดินอีกดวย

                               (4)  ควบคุมอุณหภูมิของดิน  อุณหภูมิในดินบริเวณใตระดับผิวดินลงไปเปนปจจัยที่ควบคุมการงอก

                  และการเจริญเติบโตของพืชที่ปลูก   การไมไถพรวนชวยทําใหอุณหภูมิภายใตซากพืชบริเวณผิวดินในตอน

                  กลางวันไมรอนจัดเกินไป ตามปกติอุณหภูมิของดินที่ไมมีการไถพรวนเทียบกับอุณหภูมิของดินที่มีสภาพวาง
                  เปลา เชนการไถพรวนแลว จะแตกตางกันถึง 10 องศาเซลเซียส ฉะนั้น ดินที่มีการไถพรวนในชวงกลางวันที่
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137