Page 135 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 135

130

                                  ประโยชนการปลูกพืชระหวางแถวไมยืนตน ไมยืนตนโดยเฉพาะอยางยิ่งกระถิน  เมื่อนํามาปลูก

                  เปนแถวรั้ว  ซึ่งอาจจะเปนแถวเดี่ยว แถวคู หรือสามแถว ทั้งสองขางของพื้นที่ปลูกพืชหลัก ไดแก ขาวไร
                  ขาวโพด ขาวฟาง ฝาย และมันสําปะหลัง แมกระทั่งไมผล และไมยืนตนอื่นๆ พื้นที่ปลูกไมวาเปนพื้นที่ดอน

                  ที่ราบ หรือที่ลาดชัน เมื่อนํามาเขาระบบการปลูกพืชที่ดินมีการจัดการอยางเหมาะสม ยอมเกิดประโยชน

                  หลายประการ ดังตอไปนี้

                           (1) ปองกันการพังทลายของดิน โดยแถวของกระถินทําหนาที่ในการยึดดิน และเปนแนวกัน
                  ไมใหดินถูกเคลื่อนยายไปที่อื่น อีกทั้งยังเปนแนวปะทะรับแรงของน้ําไหลบา และลดอัตราการไหลใหชาลง

                           (2) ลําตนและกิ่งใบกระถินที่ไดจากการตัดลงวางคลุมดิน สวนหนึ่งทําหนาที่รับแรงตกกระทบ

                  ของเม็ดฝน และยอมใหน้ําฝนซึมลงดินอยางชาๆ อีกสวนหนึ่งทําหนาที่ปองกันความรอนจากแสงอาทิตย
                  ไมใหมีการระเหยน้ําจากดินเร็วเกินไป เทากับชวยรักษาและสงวนน้ําไวในดิน

                           (3) เศษพืชสดที่ตัดลงคลุมดิน เมื่อมีการสลายตัว และคลุกเคลากับดิน เพิ่มอินทรียวัตถุ ธาตุ

                  ไนโตรเจนและธาตุอาหารอื่นๆ ใหแกดิน ทําใหดินอุดมสมบูรณดีขึ้น เมื่อปลูกพืชไรลงไป จึงไดรับผลผลิต

                  เพิ่มสูงขึ้น
                           (4)  การปลูกพืชในระบบนี้ รมเงาของไมยืนตนที่เกิดขึ้นภายหลังกิ่งใบที่งอกใหมจากการตัด มี

                  ปริมาณหนาทึบยิ่งขึ้น จึงชวยในการลดจํานวนวัชพืชที่ขึ้นแขงขันพืชหลัก จึงไมตองเสียแรงงานและเวลาใน

                  การปราบวัชพืชมาก
                           (5) สวนหนึ่งของกิ่งออนและใบของกระถินใชตากแหง บดผสมเปนอาหารของสัตวเลี้ยงพวกเปด

                  และไก กิ่งใบสดๆ ใชเปนอาหารสัตวประเภทโค กระบือ และแพะ

                           (6) เศษพืชสดที่ไดจากการตัดแลววางคลุมดิน เมื่อแหงแลวใบรวงหลนลงดิน ที่เหลือเปนลําตน
                  และกิ่ง สามารถนําไปใชประโยชนเปนไมฟนที่มีคุณภาพดีดวย

                           (7) การตัดพืชสดลงดินเทากับไดปุยธรรมชาติ  โดยไมตองสิ้นเปลืองเงินทุนไปซื้อปุยเคมี  ชวยลด

                  ตนทุนการผลิต
                           (8) มีรายไดเพิ่มขึ้น เพราะดินอุดมสมบูรณ ผลผลิตพืชสูง และปลูกพืชไดหลายชนิดสลับกันไป

                  ตลอดป โดยไมปลอยทิ้งดินใหวางเปลา

                            11.2.10 การปลูกพืชในพื้นที่เฉพาะหลุม (Individual plantings) หมายถึงการจัดปลูกพืชเฉพาะจุด

                  เปนหลุมๆ บนพื้นที่ลาดชันโดยมีระยะหางระหวางหลุมปลูกที่เหมาะสมเรียงกันเปนแถวตามแนวระดับ หรือ
                  ลดระดับลงเพียงเล็กนอย การปลูกพืชโดยวิธีนี้มักปฏิบัติในพื้นที่สูงชัน มีความลาดชันตั้งแต 15 เปอรเซ็นต

                  ขึ้นไป ดินมีความลึกพอสมควรและมีความอุดมสมบูรณคอนขางดี อาจเปนดินเลว มีหินกรวดทรายปนและ

                  ดินตื้นไมเหมาะสําหรับการปลูกพืช การปรับพื้นที่เฉพาะหลุม มีวัตถุประสงคหลักเพื่อที่จะใชประโยชนที่ดิน

                  บนพื้นที่สูงชันอยางถูกตองเหมาะสม ขณะเดียวกันเปนการหลีกเลี่ยงและลดอันตรายที่จะเกิดการชะลาง
                  พังทลายอยางรุนแรงของดินในพื้นที่ดังกลาว
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140