Page 141 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 141

136

                                           12. การจัดการดินปญหาในเขตพัฒนาที่ดิน


                           ดินปญหา หมายถึง ดินที่มีสมบัติไมเหมาะสมหรือเหมาะสมนอยสําหรับการเพาะปลูกพืช ถานําดิน
                  นั้นมาใชประโยชนจะไมสามารถใหผลผลิตหรือใหผลผลิตต่ํา นอกจากนี้ยังรวมไปถึงที่ดินที่มีขอจํากัดตอ

                  การใชประโยชน ซึ่งเมื่อนําไปใชแลวจะเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศอยางรุนแรง

                          ดินปญหาหลักของประเทศไทย มีเนื้อที่ 171,595,474  ไร ประกอบดวย ปญหาดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อที่
                  6,239,361ไร ปญหาดินอินทรีย มีเนื้อที่ 260,109 ไร ปญหาดินเค็ม มีเนื้อที่ 11,506,484 ไร ปญหาดินทราย มี

                  เนื้อที่ 12,544,293  ไร ปญหาดินตื้น มีเนื้อที่ 46,090,109  ไร และปญหาพื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ภูเขา มีเนื้อที่

                  94,955,118 ไร นอกจากนี้ยังมีปญหาดินกรด มีเนื้อที่ 95,410,051 ไร และปญหาดินดานที่เกิดจากการใชที่ดิน
                  อยางไมเหมาะสม ที่พบกระจัดกระจายในพื้นที่ปลูกพืชไรและเครื่องจักรกลขนาดใหญ



                  12.1. ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถัน

                            ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถัน หมายถึง ดินที่อาจมี กําลังมีหรือมีกรดกํามะถันเกิดขึ้นในดิน ทํา
                  ใหดินนั้นเปนกรดจัดมากหรือเปนกรดรุนแรงมาก สงผลกระทบตอการปลูกพืช พบในบริเวณที่ราบลุม

                  ชายฝงทะเลที่มีหรือเคยมีน้ําทะเลหรือมีน้ํากรอยทวมถึงในอดีต ประกอบดวย พื้นที่ดินเปรี้ยวจัดของภาค

                  กลางตอนใต ภาคใตและภาคตะวันออก มีเนื้อที่รวมประมาณ 6,239,361 ไร ตามตารางที่ 13

                           12.1.1. ประเภทของดินเปรี้ยวจัด ดินเปรี้ยวจัดจัดแบงไดเปน 3 ประเภท คือ
                          (1)  ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกํามะถันตื้น พบชั้นดินที่มีสารสีเหลืองฟางขาว (Jarosite) หรือชั้น

                  ดินที่เปนกรดรุนแรงมากภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน โดยทั่วไปชั้นดินบนมีคาความเปนกรดเปน

                  ดางของดิน (pH) ต่ํากวา 4.0 ไดแก กลุมชุดดินที่ 9 และ 10 มีเนื้อที่รวม 952,154ไร
                         (2) ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกํามะถันลึกปานกลาง พบชั้นดินที่มีสารสีเหลืองฟางขาว หรือชั้นดิน

                  ที่เปนกรดรุนแรงมากในชวงความลึก 50-100  เซนติเมตรจากผิวดิน โดยทั่วไปชั้นดินบนมีคาความเปนกรด

                  เปนดางของดิน (pH) ประมาณ 4.0-4.5 ไดแก กลุมชุดดินที่ 11 และ 14 มีเนื้อที่รวม 2,519,256ไร

                        (3) ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกํามะถันลึก พบชั้นดินที่มีสารสีเหลืองฟางขาว หรือชั้นดินที่เปนกรด
                  รุนแรงมากในชวงความลึก 100-150  เซนติเมตรจากผิวดิน  โดยทั่วไปชั้นดินบนมีคาความเปนกรดเปนดาง

                  ของดิน (pH) ประมาณ 4.5-5.0 ไดแก กลุมชุดดินที่ 2 มีเนื้อที่รวม 2,767,911ไร

                        12.1.2. ปญหาของดินเปรี้ยวจัด ดินเปรี้ยวจัดเนื้อดินเปนดินเหนียวแข็งและแตกระแหงกวางและลึกที่

                  มีชั้นดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดรุนแรงมาก มีคาความเปนกรดเปนดางของดินต่ํากวา 4.0 ทําใหขาดธาตุ
                  อาหารและขาดความสมดุลของธาตุอาหารพืช เกิดความเปนพิษจากเหล็กและอะลูมิเนียมที่ละลายออกมามาก

                  มีน้ําแชขังนาน การระบายน้ําไมดี และขาดแคลนแหลงน้ําจืด ทําใหพืชที่ปลูกแลวไมเจริญเติบโตหรือให

                  ผลผลิตต่ํามาก และจํากัดชนิดพืชที่นํามาใชปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146