Page 134 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 134

129

                         (5)  ในกรณีของเศษพืชหรือซากพืชที่คลุมดินอยางหนาแนน เพื่อใหการหยอดเมล็ดพืชสะดวกและ

                  เมล็ดงอกไดดี จําเปนตองแกไขโดยการตัดซากวัชพืชที่ขึ้นคลุมผิวดินใหสั้นลงเกือบชิดดิน การปฏิบัติเชนนี้
                  ตองใชเครื่องจักรกลหรือแรงงานตัด เปนการเพิ่มตนทุนในการผลิตขึ้นมีอีก

                           (6)  ยังไมอาจหายาฆาวัชพืชประเภทดูดซึมที่มีราคาถูก  ทําลายวัชพืชไดเร็ว  ไมมีฤทธิ์ตกคางอยูใน

                  ดินและไมเปนพิษตอพืชที่ปลูกได
                                การปลูกพืชแบบไมไถพรวน ใชไดกับพื้นที่ดินที่มีสิ่งคลุมดิน (Mulch) เทานั้นไมแนะนําใหใชกับ

                  พื้นผิวหนาดินที่วางเปลา สิ่งคลุมดินและการเสริมสรางอินทรียวัตถุในดินเปนสิ่งจําเปนตอความสําเร็จของ

                  การปลูกพืชแบบไมไถพรวน  สิ่งคลุมดินไดแกซากพืชหรือซากวัชพืชที่ขึ้นคลุมผิวดินอยูกอนแลว และได

                  แหงตายลงตามธรรมชาติหรือใชยากําจัดวัชพืช
                           11.2.9. การปลูกพืชระหวางแถวไมยืนตน (Alley or avenue cropping system) คือการปลูกพืชหลัก

                  ปลงในพื้นที่วางระหวางแถวไมยืนตนซึ่งปลูกเปนแนวเหมือนแถวรั้ว  โดยทําการตัดตนหรือลิดกิ่งใบของไม

                  ยืนตนตามแถวทั้งสองขางในระดับความสูงที่เหมาะสม  แลววางคลุมดินระหวางแถวของไมยืนตนเปนวัตถุ

                  คลุมดิน หรือสับกลบคลุกเคลากับดินเปนปุยพืชสด
                                 การปลูกพืชเชนนี้มีวัตถุประสงคสวนใหญเพื่อปรับปรุง บํารุง ฟนฟู และอนุรักษความอุดมสมบูรณ

                  ของดิน รวมทั้งการสงวนรักษาความชื้นในดิน รวมทั้งการสงวนรักษาความชื้นในดิน นอกจากนี้ ยังชวย

                  ปองกันไมใหวัชพืชขึ้นแขงขันกับพืชหลักในชองถนนที่ปลูกอีกดวย ไมที่ไดจากการตัดไมยืนตน เมื่อวางลง
                  คลุมดิน ภายหลังจากใบไดรวงหลนสูดินแลว สามารถนําไปใชเปนไมหลักและใชทําฟนไดดี

                                ไมยืนตน (Shrubs  or  trees)  ที่จะนํามาปลูกเปนแถวรั้ว เปนพืชจําพวกไมโตเร็วและตระกูลถั่ว พืช

                  ตระกูลถั่วเปนพืชที่มีลักษณะพิเศษที่ดีเดน คือ มีปริมาณใบมาก สามารถแตกกิ่งกานและใบไดรวดเร็ว
                  ภายหลังการตัด ใบมีธาตุไนโตรเจน และธาตุอาหารอื่นๆ เปนองคประกอบอยูในปริมาณคอนขางสูง เมื่อรวง

                  หลนลงสูดินแลวสลายตัวเปนประโยชนตอพืชที่ปลูกรวมไดเร็ว อีกทั้งบริเวณรากมีปมของจุลินทรียที่

                  สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศ พืชตระกูลถั่วที่ไดรับการศึกษาวิจัยดานความเหมาะสมในการใช
                  ประโยชน ไดแก กระถิน (Leucaena leucocephala) แคฝรั่ง (Gliricidia sepium) ถั่วมะแฮะ (Cajanus cajan)

                  และแคบาน (Sesbania grandiflora) เปนตน

                           ในบรรดาพืชตระกูลถั่วประเภทไมยืนตนโตเร็วดังไดกลาวนั้น กระถินจัดไดวาเปนไมตระกูลถั่วที่

                  นิยมใชปลูกทดลองกันมากที่สุด เนื่องจากมีความสามารถเจริญเติบโต ปรับตัว และขึ้นไดดีในสภาพที่สูงกวา
                  ระดับน้ําทะเลตั้งแต 1,000 – 3,000 ฟุต จึงไมมีปญหาในการปลูกบนภูเขาและพื้นที่ลาดชัน นอกจากนี้ ยังมี

                  ลักษณะดีเดน โตเร็ว แตกกิ่งใบใหมภายหลังการตัดไดเร็วมาก ใหปริมาณน้ําหนักสดแตละปไมต่ํากวา 5 ตัน

                  ตอไร เมล็ดงอกดีมีปริมาณมาก อีกทั้งเนื้อไมมีคุณภาพใชเปนเชื้อเพลิงอยางดี กระถินจึงเปนไมยืนตนที่

                  เหมาะสมตอการนําไปใชประโยชนปลูกพืชในระหวางแถวไมยืนตน ทั้งในพื้นที่ราบและที่ลาดชัน
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139