Page 133 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 133

128

                  รอนจัดอุณหภูมิของดินที่อยูลึกลงในจากผิวดิน 5  เซนติเมตร  จะสูงมาก  พืชที่ปลูกอาจไดรับความเสียหาย

                  เมล็ดไมงอกก็ได
                               (5) ผลผลิตของพืชปลูก โดยทั่วไปการปลูกพืชในระบบไมไถพรวน (Zero-tillage หรือ No-till)และ

                  ไถพรวนนอย (Reduced  tillage) ใหผลผลิตสูงกวาการปลูกพืชในระบบไถพรวนธรรมดา (Conventional

                  tillage) ภายใตการปลูกพืชชนิดเดียวกันหลายป ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวาการไมไถพรวนชวยทําให
                  อินทรียวัตถุและธาตุอาหารอื่นๆ สลายตัวและสูญเสียไปอยางชาๆจึงทําใหดินอุดมสมบูรณดีกวาการไถพรวน

                  ธรรมดา จากการทดลองปลูกขาวโพดโดยการใชเครื่องจักรกลขนาดหนักทําการไถพรวนเตรียมดินเปรียบกับ

                  การไมไถพรวนพรอมทั้งมีการใชเครื่องพนยาปราบศัตรูพืชและเครื่องปลูกขนาดหนักปลูกขาวโพดพื้นที่

                  แปลงใหญปละ 2 ครั้ง ปรากฏวาผลผลิตของขาวโพดในแปลงที่ไมไถพรวนสูงกวาแปลงที่ไถพรวนในระยะ
                  เวลานาน 6 ป แตภายหลังปที่ 8 แลวผลผลิตลดลงทั้งสองวิธีเนื่องจากดินเกิดการอัดตัวกันแนน และความเปน

                  กรดสูงขึ้น จึงควรแกไขโดยการใชเครื่องไถดินลึก (Chisel) ไถดินใหลึกเกือบ 1 เมตร ภายหลังสิ้นสุดการเก็บ

                  เกี่ยวในปที่ 6 หรือ 7

                                 (6) การปลูกพืชแบบไมไถพรวนนั้น ในทางปฏิบัติไดมีการพนยาปราบวัชพืชใหตายลงเสียกอน เมื่อ
                  วัชพืชแหงตายดีแลวจึงปลูกหรือหยอดเมล็ดพืชลงในหลุมหรือแนวรองลึก  ๆ  ระหวางซากพืช  วิธีการเชนนี้

                  ชวยลดจํานวนของวัชพืชที่จะเจริญขึ้นมาใหมไดดีมาก  โดยเฉพาะซากพืชที่แหงตายปกคลุมผิวดินไดแนน

                  หนาจะชวยปองกันมิใหเมล็ดวัชพืชจําพวกลมลุกงอกสะดวกขึ้น  เทากับเปนการลดการแขงขันของวัชพืชให
                  นอยลง พืชหลักที่ปลูกสามารถเจริญเติบโตไดเต็มที่

                           (7) การปลูกพืชแบบไมไถพรวน ชวยลดพลังงาน ประหยัดเวลาและคาใชจายไดมากกวาการไถ

                  พรวนเตรียมดินปลูกพืช โดยเฉพาะอยางยิ่งในการเตรียมดินปลูกไมวาจะใชเครื่องจักรกล หรือใชแรงงาน
                  ตองเสียทั้งพลังงานเสียเวลาและสิ้นเปลืองเงิน การวิจัยในประเทศศรีลังกาพบวาคาใชจายในการเตรียมดิน

                  ปลูกพืชแบบไมไถพรวน มีนอยกวาครึ่งหนึ่งของการปลูกพืชแบบไมไถพรวนธรรมดา

                  ผลเสียของการปลูกพืชแบบไมไถพรวน มีดังนี้
                           (1) การพนยาปราบวัชพืช ใชไมไดผลสมบูรณโดยเฉพาะกับวัชพืชจําพวกพืชคางปและกก  เมื่อพน

                  ยาฆาวัชพืชแลวมักจะแหงตายไมถาวร สวนใหญจะงอกหนอขึ้นมาใหม เชน หญาคา แหวหมู เปนตน

                           (2) ดินเกิดการแนนตัวภายหลังการปลูกพืชไรติดตอกัน 8 ป การแนนตัวของดินทําใหรากพืชเจริญ

                  แพรขยายในทางลึกไดไมเต็มที่ ผลผลิตพืชที่ปลูกจึงลดลง
                           (3) ในสภาพดินที่เปนกรด การปลูกพืชโดยไมมีการไถพรวนไปหลายๆป ความเปนกรดของดินจะ

                  เพิ่มขึ้น เพราะดินชั้นลางไมมีโอกาสถูกไถพรวนกลับขึ้นมาขางบนใหถูกอากาศถายเทและถูกแสงแดด จึงทํา

                  ใหผลผลิตพืชลดลง

                           (4)  การพนยาฆาวัชพืชใหแหงตายลง ในบางแหงวัชพืชที่ขึ้นอยูอยางหนาแนนมากเกินไป การ
                  แหวกชั้นวัชพืชแลวหยอดเมล็ดลงดิน อาจทําใหเมล็ดพืชงอกขึ้นมาไมได หรืองอกไดเพียงเล็กนอย
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138