Page 108 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 108

103

                         10.13.3. การใหน้ําทางใตผิวดิน การชลประทานแบบนี้เปนการใหน้ําโดยการยกระดับน้ําใตดินให

                  ขึ้นมาอยูในระดับที่น้ําจะไหลซึมขึ้นมาสูเขตรากได วิธีการเพิ่มระดับน้ําใตดินอาจทําได 2 แบบ คือ
                                (1) โดยการใหน้ําในคู

                                (2) โดยการใหน้ําในทอซึ่งฝงไวใตดิน

                         10.13.4. การใหน้ําแบบหยด เปนการใหน้ําแกพืชที่จุดใดจุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือในเขต

                  รากพืช โดยอัตราน้ําที่ใหนั้นไมมากพอที่จะทําใหดินในเขตรากอิ่มน้ําเปนบริเวณกวาง โดยปกติแลวผิวดินจะ
                  เปยกแตเฉพาะตรงจุดที่ใหน้ําเทานั้น การชลประทานแบบนี้มีประสิทธิภาพในการใหน้ําสูงมาก เนื่องจากมี

                  การสูญเสียโดยการระเหยนอย ดังนั้น ผลผลิตตอหนึ่งหนวยปริมาตรของน้ําที่ใช จึงมากกวาการชลประทาน

                  แบบอื่นๆ สามารถที่จะนําไปใชกับการปลูกพืชแทบทุกชนิด ทั้งไมยืนตน พืชผัก พืชไร และไมดอก และไม

                  ประดับ เปนตน
                           อนึ่ง  การดําเนินงานโครงการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน การอนุรักษน้ําเปนสิ่ง

                  สําคัญที่ตองคํานึงถึงในการพัฒนาพื้นที่ ถึงแมวาจะมีดินดี  มีความอุดมสมบูรณของดินดี  มีพันธุที่ใหผลผลิต

                  สูงและตานทานศัตรูพืชไดดี มีการจัดการตาง ๆ ไมวาจะเปนการตลาด  การขนสง  ตลอดจนการปฏิบัติหลัง
                  การเก็บเกี่ยวที่ดี  มีเครื่องมือ  เครื่องทุนแรงที่มีประสิทธิภาพสูง  และสิ่งที่ดีอื่น ๆ อีกหลายอยาง   แตถาขาด

                  น้ําหรือมีน้ําไมเพียงพอ  การทําเกษตรจะพบปญหาแนนอน  เพราะฉะนั้น เจาหนาที่ที่เกี่ยวของในการจัดทํา

                  เขตพัฒนาที่ดิน จึงตองมีการวางแผนออกแบบระบบอนุรักษดินและน้ํา เพื่อการเก็บกักน้ํา การระบายน้ํา และ
                  การกระจายน้ําในพื้นที่ รวมถึงถึงเกษตรกรเอง ตองใชน้ําอยางประหยัด มีประสิทธิภาพใหพอเพียงและยั่งยืน

                  ตอการใชพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมตลอดไป
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113