Page 106 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 106

101

                                 (2) การใสอินทรียวัตถุลงไปในดินที่เปนทรายจัด

                                  (3) การทําลายวัชพืชตาง ๆ ในแปลงปลูกพืช
                                  (4) การควบการระเหยน้ําจากดิน

                          10.11.6. การควบคุมการสูญเสียน้ําในระบบชลประทาน การชลประทาน เปนการใชน้ําปริมาณมาก

                  ที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับการใชน้ําอยางอื่น ๆ  แตประสิทธิภาพมีประมาณ  30 – 40  เปอรเซ็นตเทานั้น การ

                  สูญเสียน้ําในระบบชลประทานเนื่องจากสาเหตุดังนี้
                                (1)โดยการปลอยใหน้ําไหลโดยไมมีการควบคุม

                              (2)โดยการไหลซึมลงสูสวนลึกของดินเกินกวารากพืชจะดูดมาใชได

                              (3)โดยการรั่วซึมจากคลองสงน้ําตางๆ
                              (4) โดยการระเหยสูชั้นบรรยากาศ

                           สําหรับประเทศไทย มีการรายงานวา  บอน้ํา  สระน้ํา  และอางเก็บน้ํา  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                  สวนมากมีความลึกของน้ํา  2  เมตรในปลายฤดูฝน  และประมาณ  80 – 90  เปอรเซ็นต  จะสูญเสียไปโดยการ

                  รั่วซึมและการระเหย จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา  การสูญเสียน้ําในระบบชลประทานเกิดขึ้นจาก  3
                  ขั้นตอนคือ

                                1)  เกิดขึ้นขณะที่เก็บกักน้ําไวที่ผิวดินในบอ  สระ  หรืออางเก็บน้ํา  ซึ่งจะสูญเสียโดยการ

                  ระเหย  การรั่วซึม  และวัชพืชน้ํา
                                2)  เกิดขึ้นในขณะสงกระจายน้ําจากที่กักเก็บน้ําไปสูพื้นที่ที่จะทําการชลประทาน

                                3) เกิดขึ้นในขณะใหน้ําแกพืช

                           อนึ่ง ระบบชลประทานเพื่อการกระจายน้ําและสงน้ําที่ดี ควรมีลักษณะดังตอไปนี้
                                1) ประหยัดพลังงาน

                                2)  เปนระบบที่มีการอนุรักษน้ํา

                                3)  มีการดูแลรักษาระบบการกระจายและสงน้ําไดงาย
                                4)  เปนระบบที่มีการปฏิบัติงาย ๆ ไมซับซอน

                                5) เปนระบบที่เมื่อนํามาปฏิบัติแลวจะมีการเสียพื้นที่เพาะปลูกนอย  ไมเปนอุปสรรคตอการ

                  ปฏิบัติของเครื่องจักรกลในการปฏิบัติตาง ๆ ในไรนา

                                6)  พื้นที่ไมสม่ําเสมอก็ดําเนินการไดโดยไมตองมีการปรับสภาพพื้นที่หรือปรับสภาพพื้นที่
                  นอยที่สุด

                                7)   พื้นที่ไดจากการกระจายน้ําแบบนี้สามารถนําไปใชกับพืชไดทุกระบบ  การใหน้ําไมวา

                  จะเปนการใหน้ําใตดิน  ที่ผิวดิน  ฉีดฝอยเหนือผิวดิน  หรือใหแบบหยดก็ได

                                8)  เปนระบบที่สามารถใชอุปกรณงาย ๆ และมีราคาถูก  ซึ่งสามารถหาซื้อไดตามตลาดใน
                  ชนบททั่ว ๆ ไปได  และปฏิบัติไดอยางรวดเร็วในการใหน้ําแกพืช
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111