Page 105 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 105

100

                                  3)   พวกที่มีรากหยั่งลึกถึงกนบอหรือสระ มีลําตนและใบอยูเหนือผิวน้ํา  และสามารถ

                  เจริญเติบโตในบริเวณที่มีน้ําลึกถึง  60  เซนติเมตร  พืชในกลุมนี้  ไดแก  ผักเปด  แพงพวย เปนตน
                                  4) พวกสาหรายชนิดตาง ๆ ขยายพันธุโดยสปอร และใชสวนของลําตน  (Vegetative

                  reproduction)   สาหรายที่พบมีอยู  3    ชนิดใหญ ๆ  คือ  (1)    สาหรายเซลลเดียวหรือพวก  Unicellular

                  phytoplanktons  (2)  สาหรายที่เจริญเติบโตเปนเสนหรือพวก  Filamentous  algae  และ  (3)  สาหรายชั้นสูง
                  หรือพวก  Higher  algae

                           วัชพืชพวกที่มีการคายน้ํามากที่สุด  ไดแก  วัชพืชพวกที่  3    สําหรับประเทศไทย  วัชพืชน้ําที่

                  กอใหเกิดปญหามากที่สุด  ไดแก  ผักตบชวา  โดยมีผูรายงานวา  ผักตบชวาตนเดียวขยายพันธุเปน  248,000

                  ตน  ภายในระยะเวลา  90  วัน  และมีการคายน้ําในน้ํานิ่งตอวัน  175  มิลลิลิตร  น้ําที่ไหลจะคายน้ําไดถึง  225
                  มิลลิลิตรตอวัน  ถาจะเปรียบเทียบในบอ  สระน้ํา  พบวาถามีผักตบชวาในน้ํา จะสูญเสียน้ําไดงายกวาไมมี

                  ผักตบชวาในน้ําประมาณ  5 – 7  เทา

                           10.11.4.  การควบคุมการระเหยของน้ําจากผิวน้ําโดยตรง อัตราการระเหยของน้ําโดยตรงจาก  บอ

                  สระ  อางเก็บน้ํา  หนอง  บึง  ทะเลสาบ  จะมีความสัมพันธโดยตรงกับอุณหภูมิของผิวน้ํา  ความเร็วของลมที่
                  พัดผานผิวน้ํา  และมีความสัมพันธในทางกลับกันกับความชื้นสัมพัทธ ของอากาศเหนือผิวน้ํา  หลักการ

                  ควบคุมการระเหยของน้ําจากผิวน้ํามีอยู  2  ประการ  คือ

                           (1) การลดเนื้อที่ผิวน้ําที่อิสระ  สามารถทําไดโดยลดอัตราสวนระหวางเนื้อที่ผิวน้ํากับปริมาตรของ
                  บอ  สระ  อางเก็บน้ํา  ใหมีนอยที่สุด  ตัวอยางของพื้นที่ผิวน้ําและความจุของอางเก็บน้ําบางแหง  การเก็บกับ

                  น้ําไวในอางเก็บน้ําธรรมชาติใตผิวดินหรือในสภาพน้ําบาดาลจะดีกวาการเก็บน้ําโดยสรางอางเก็บน้ําไวที่ผิว

                  ดินเพื่อลดการสูญเสียน้ํา
                          (2) การปกคลุมและปองกันผิวน้ําอิสระ  เปนวิธีการที่สูญเสียคาใชจายสูงมาก  วิธีการปกคลุมและ

                  ปองกันผิวน้ําที่อิสระมีดังตอไปนี้

                                      1)  ใชสารเคมีพวก  Monomolecular  films
                                      2)  การใชแผนเยื่อบาง ๆ ที่ลอยน้ํา

                                      3) ใชวัสดุที่ลอยน้ํา

                                      4)   การใชน้ํามันลอยบนผิวน้ําในบอ  สระ และอางน้ํา

                                      5)  การสรางรมเงาบังผิวน้ํา

                           10.11.5.  การเก็บกักน้ําไวในดิน  การเก็บน้ําไวในดินจะเปนประโยชนตอพืชที่ปลูก  แตก็มีชุดดิน
                  บางชุดที่มีชั้นดินแนนทึบมากโดยจะเกิดขึ้นในระดับความลึกชั้นไถพรวน  เราเรียกวา  ชั้นดินดาน  (Plow

                  pan)   น้ําซึมผานไดยาก  ดังนั้น  เราควรทําลายชั้นดินดานนี้เพื่อเพิ่มการกักน้ําในดิน อยางไรก็ตาม  การเพิ่ม

                  การกักเก็บน้ําอีกวิธีหนึ่ง  ไดแก  การใสอินทรียวัตถุในดินทรายจัด  จะทําใหดินอุมน้ําไดมากกวา  100
                  เปอรเซ็นต  ดังนั้น จึงกลาวสรุปไดวา  การเพิ่มความสามารถในการกักเก็บน้ําในดินปฏิบัติไดดังนี้

                                (1) การทําลายชั้นดินแนนทึบมากซึ่งเกิดจากการไถพรวน
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110