Page 103 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 103

98

                             6) การเล็มกินหญาของสัตวเลี้ยงตาง ๆ  เชน  โค  กระบือ  และมา  รวมทั้งสภาพของสนาม

                  หญาที่สัตวตาง ๆ เล็มกินดวย
                             7) การใชสถานที่ขนสงวัตถุตาง ๆ ซึ่งอาจจะเกิดอุบัติเหตุทําใหเกิดการแปดเปอนขึ้นกับแหลง

                  น้ําภายในพื้นที่ลุมน้ํา



                  10.11. การอนุรักษน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน
                                 มาตรการอนุรักษน้ําบนพื้นที่เพาะปลูกในเขตพัฒนาที่ดิน   สามารถดําเนินการไดดังนี้

                          10.11.1. การควบคุมน้ําที่ไหลบาบนผิวดิน  สามารถทําใหมีปริมาณลดลงไดโดยการอนุรักษน้ําบน

                  พื้นที่เพาะปลูก สําหรับวิธีการปฏิบัติเพื่อลดปริมาณน้ําที่ไหลบาบนผิวดิน มีดังตอไปนี้

                             (1)   การไถพรวนตามแนวระดับ การไถพรวนทําใหเกิดรอง (Furrow) และเนินหรือคัน
                  ดิน   (Ridge)   เล็ก ๆ   วางตัวขวางหรือตั้งฉากกับทิศทางของความลาดเท ทําใหน้ําฝนที่ตกลงมาขังอยูบนผิว

                  ดินนานขึ้น  ทําใหน้ําซึมเขาไปในดินมากขึ้น  การไถพรวนตามแนวระดับ สามารถอนุรักษน้ําบนพื้นที่ลาดเท

                  เล็กนอยไดมากกวาบนพื้นที่ลาดเทมาก  ซึ่งประสิทธิภาพของการกักเก็บน้ําของรองจะลดลงเมื่อพื้นที่มีความ

                  ลาดเทเพิ่มขึ้น
                           (2) การทําขั้นบันได  นิยมกอสรางตามไหลเขา  หรือเชิงเขา  หรือบนพื้นที่ลาดเท  โดยสรางหรือ

                  ปรับสภาพพื้นที่ใหมีลักษณะเปนขั้นบันได  คือ  มีพื้นที่ราบอยูหลังคันดินหรือผนังหิน  การเพาะปลูกพืชก็
                  กระทํากันบนพื้นที่ราบซึ่งอยูหลังคันดินหรือผนังหินนี้  และสามารถใชพื้นที่ชันมากปลูกพืชแบบเขมขน


                  ได  ถาไมทําขั้นบันไดจะปลูกพืชไมได
                           (2) การปลูกพืชเปนแถบสลับ ไดแก การปลูกพืชที่เปนแถวเปนแถบสลับกับพืชซึ่งมีการ
                  เจริญเติบโตอยางใกลชิด  และแถวของพืชที่ปลูกตั้งฉากกับทิศทางของความลาดเท  ถือวาเปนการอนุรักษน้ํา

                  เปนอยางดี   เพราะวาแถวที่ปลูกพืชซึ่งมีการเจริญเติบโตใกลชิดกันจะทําใหการไหลของน้ําที่ไหลบาบนผิว

                  ดินไหลชาลง  และจะกรองเอาตะกอนตาง ๆ ที่ถูกพัดพามาไว  ทําใหน้ําซึมไปในดินไดมากขึ้น

                           (4) การใชสารเคมีเพื่อการซึมน้ําของดิน มีการเพิ่มสารเคมีลงไปในน้ําชลประทานเพื่อใหน้ําซึมลง
                  ไปในดินไดมากขึ้น ซึ่งใชกันมากในเขตแหงแลง สารเคมีเหลานี้ใสลงไปปรับปรุงโครงสรางของดิน   ทําให

                  เม็ดดินมีความเสถียร  จึงทําใหน้ําซึมไดดีขึ้น  แตอยางไรก็ตาม การใชสารเคมีดังกลาวราคาคอนขางแพงและ

                  ตองมีการศึกษาผลขางเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นไดตอไป
                           (5) การใชเศษเหลือของพืชเปนวิธีที่ดีที่สุด โดยไถกลบเศษเหลือของพืช (Stubble  mulch  tillage)

                  ทําใหการเก็บกักน้ําในดินไดเพิ่มขึ้น  นอกจากนี้ การคลุมดินดวยเศษเหลือของพืช  ทําใหประสิทธิภาพ การ

                  ใชน้ําของพืชเพิ่มขึ้น   และการคลุมดินฟางขาว  สามารถลดปริมาณน้ําที่ไหลบาบนผิวดินไดมากกวาวิธีการ

                  จัดการดินอื่น ๆ   วิธีที่จะไดประโยชนจากการใชระบบพืชมีอยู   3   วิธี   คือ   (1)   ใชปลูกพืชหมุนเวียนหรือ
                  ระบบการปลูกพืชและการปฏิบัติการจัดการตาง  ๆ   เพื่อใหดินไดรับการปกคลุมไดนานที่สุดในแตละ

                  ป  (2)  การปลอยใหเศษเหลือของพืชอยูบนผิวดิน หลังจากการเก็บเกี่ยวและไมควรเผาทําลาย  และ  (3)  การ
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108