Page 108 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 108

คุณสมบัติที่เปนเชิงปริมาณ(Quantitative)  คือ มีการตรวจสอบในหองปฏิบัติการและวัดปริมาณได ทําให
               สามารถวินิจฉัยคุณสมบัติของดินภาคสนามได  อยางไรก็ตาม ระบบนี้ไดถูกจัดทําเปนหนังสือ Soil Taxonomy

               เลมหนามาก นักสํารวจดินก็กลัววาจะจําไมได  อีกทั้งยังมีภาษาลาตินและตองมีการตีความเหมือนกฎหมาย
               มีความคลุมเครือบางครั้งก็ตัดสินใจไมได ตองจัดประชุมหารือกันหลายครั้ง จึงคอนขางจะมีจุดออนหากจะนํา
               ระบบ Soil Taxonomy มาใช





















                                   ภาพที่ 10 ผอ.สุรพล เจริญพงศ ขณะปฏิบัติงานสํารวจดินภาคสนาม

                      ผมมีโอกาสไดไปศึกษาดูงานหลายแหง การที่จะจําแนกดินโดยเอา Soil Taxonomy เลมใหญมาทอง
               คงจะจํากันไมไหว ก็มีวิธีการทําของยากใหเปนของงาย โดยผมซึ่งอยูในตําแหนงหัวหนาฝายมาตรฐาน ก็จัดใหมี

               การทํา Workshop  ให Classification  ดินทีละ Series  นําดินที่มีผลการวิเคราะหแลว  มาจัดลําดับตั้งแต
               Order/Suborder/Great Group /Sub Group   Family/Series  ตองใหเหตุผลวาดินเปน Order  หรือ
               Suborder นั้นๆ เพราะอะไร  ตองเขียนมาใหชัดเจน เราจะไปตามอยาง ดร.พิสุทธ ไมได เพราะทานเกง  ทาน

               คิดรวบยอดออกมาเปน family  ไดเลย แตผมไมคอยแมนจึงชา Soil Taxonomy เปนระบบที่เรามีหลักฐาน
               ยืนยันไดวาดีมีมาตรฐาน  ไมทราบวาทางกองสํารวจดินจะยังมีเอกสารการจัดลําดับเหลานี้อยูหรือไม เพราะเปน
               เอกสารที่มีประโยชน ที่แสดงถึงเหตุผลที่ดินถูกจัดอยูใน Series ตางๆ























                                 ภาพที่ 11 การอบรมเชิงปฏิบัติการนานาชาติดานการสํารวจและจําแนกดิน






                                                                                 ตํานานการสํารวจดิน  105
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113