Page 106 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 106

D.Smith  เปนหัวเรือใหญในการจัดทํา Dr.Guy D. Smith  ไดจัดประชุมกลุมยอยหลายครั้ง มีการอภิปราย
               โตตอบและปรับปรุงแกไข 6 ครั้ง และเสนอฉบับรางขึ้นมาในป 1960 เปนฉบับที่ 7 เรียกวา  “Seventh

               Approximation”  หรือ“ระบบ Comprehensive Soil  Classification System”(CSCS) คือ ตองการ
               ใหระบบการจําแนกดินเปนระบบสากล ทุกประเทศใชแลวเขาใจ จึงจัดการประชุมใหญที่เมืองแมดิสัน
               รัฐวิสคอนซิล ในเดือนสิงหาคม ป ค.ศ.1960 มีนักสํารวจดินจากนานาประเทศเขารวมประชุม ซึ่งประเทศไทย
               มี ดร.สาโรช มนตระกูล เปนตัวแทนไปรวมประชุม หลังจากกลับจากประชุม ดร.สาโรช ไดนําระบบการจําแนก

               ดินฉบับรางที่เรียกวา Seventh Approximation มาทดลองใชและแจกจาย ใหสวนราชการนําไปศึกษา ขอเสีย
               ของระบบนี้คือ ใชภาษาคอนขางจะยุงยาก ภาษาที่ใชในการจําแนก มีหลากหลาย มีทั้งภาษาละติน ภาษากรีซ
               ภาษาฝรั่งเศส ขอดีคือมีขั้นตอนในการจําแนกหลายระดับ ซึ่งเรื่องนี้ ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ จะมาเลาตอไป

                      หลังจากที่นําระบบ Seventh  Approximation
               มาทดลองใชแลวเห็นวาดี กรมพัฒนาที่ดินก็ไดมอบหมาย
               ให ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ ปรับปรุงแผนที่ใหมโดยใชระดับ
               Great soils  group และกลุมดินตั้งแตสองกลุมขึ้นไปใน
               หนวยแผนที่เดียวกัน (หนวยสัมพันธของกลุมดินหลัก)

               สรางแผนที่ในมาตราสวน 1 : 1,000,000 ออกมา ซึ่ง
               เปนแผนที่ฉบับที่ไดรับการยอมรับวาดี ใหขอมูลที่ละเอียด
               ขึ้น และผมเขาใจวา ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ ไดปรับปรุง

               แกไขแผนที่อีกครั้งในเวลาตอมา ถึงแมวา Seventh
               Approximation จะไดรับการยอมรับ  แตการบรรยายชุด
               ดินนั้นเรายังรักษาการจําแนกดินเดิมไวเปน ระบบประจํา  ภาพที่ 8 แผนที่ในมาตราสวน 1 : 1,000,000
               ชาติ (National Soil Classification System) คือใชของ

               Dr. R. Dudal และ Dr.Moormann และมีการจําแนกของ USDA ตาม Soil Taxonomy ที่มีขั้นตอนตางๆ
               แตสิ่งที่ทําให Soil Taxonomy ลาชา คือ ตองการขอมูลที่ละเอียดมาก ตองเก็บตัวอยางดินมาศึกษาวิเคราะห
               อยางไรก็ตามประเทศไทย ก็ยอมรับแลววาระบบนี้เปนระบบสากล แตวามีกลุมประเทศที่ไมยอมรับระบบ Soil
               Taxonomy คือกลุมประเทศคอมมิวนิสต เพราะเขายอมรับหลักการสํารวจและจําแนกดินของโดคูเชฟ

               (V.V. Dokuchaev) ซึ่งเปนระบบเกาแกที่ประเทศรัสเซียไดพัฒนาขึ้นมาใชและสอนในโรงเรียนของเขา ระบบ
               ของเขามีเพียง 3 Order ในขณะที่ Soil Taxonomy ในป ค.ศ.1960 มีถึง 10 order และยังมีเพิ่มมาในตอน
               หลังป ค.ศ.1975 อีก 2 order ซึ่งนักวิทยาศาสตรในกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกามีพัฒนาขึ้น คือ
               Gelisols  หมายถึง ดินเขตหนาวที่แข็งตัวในขั้วโลกเหนือ กับอีกประเภทหนึ่งคือ Andisols หมายถึง ดินที่เกิด

               จากอิทธิพลของภูเขาไฟ รวมเปน 12 order โดยมีที่ใชในประเทศไทยทั้งสิ้น 9 order
                      ในขณะนั้น นอกจากระบบการสํารวจจําแนกดินจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางเห็นไดชัดแลว ยังมีงาน
               สํารวจดินระดับจังหวัดที่จะตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในป พ.ศ.2524 ซึ่งสิ้นสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

               และสังคมแหงชาติฉบับที่ 4  แตเนื่องจากมี 2 จังหวัดที่มีปญหาผูกอการราย ไมสามารถจะเขาไปสํารวจดินได
               คือ จังหวัดสุราษฎรธานี กับ จังหวัดนครศรีธรรมราช จึงตองขยายเวลาการสํารวจภาคสนามไปเสร็จสิ้น
               ในป พ.ศ. 2527  สวนการทําแผนที่นั้นไมทราบวาแลวเสร็จในปไหน








                                                                                 ตํานานการสํารวจดิน  103
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111