Page 103 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 103

ดร.สาโรช มนตระกูล (Dr.Sarot Montrakun) เปนชาวฟลิปปนส จบการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา
               การเกษตรทางดานปฐพีวิทยา และปริญญาเอกกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดร.สาโรช ขอติดตาม

               Dr.Pendleton  มาประเทศไทย และไดแตงงานกับเจาประยงค มนตระกูล ชาวจังหวัดเชียงราย
                                                                  ดร.สาโรช มาดําเนินการสํารวจดินตอจาก
                                                          Dr.Pendleton โดยเนนการสํารวจระดับโครงการเปน
                                                          สวนใหญ เทาที่ผมเห็นรายงานตางๆ ที่ ดร.สาโรช

                                                          ทําไวก็มีโครงการลําพระเพลิงฯ โครงการทุงสัมฤทธิ์ฯ
                                                          โครงการลําตะคองฯ โครงการแมกลองฯ ซึ่งมีการสํารวจ
                                                          ดินระดับที่ละเอียดขึ้นกวาเดิมเพราะการคมนาคม

                                                          สะดวกขึ้นและเปนงานที่ทําในลักษณะโครงการ จากนั้น
                                                          ดร.สาโรช ก็ปรับปรุงแผนที่ของ Dr.Pendleton ใหมี
                                                          ความละเอียดขึ้นแตแผนที่ชุดดินยังเหมือนเดิม
                        ภาพที่ 4 ดร.สาโรช  มนตระกูล

                      จนกระทั่งชวงป พ.ศ.2504 เนื่องจากมีภัยคอมมิวนิสตที่เขาแทรกแซงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
               รัฐบาลจึงมีนโยบายใหไปสํารวจดินระดับจังหวัดที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งตอนนั้น

               มีหนวยงานระดับกรม 2 หนวยงาน ที่ดําเนินการสํารวจดินและทํา Exploration Survey คือ กรมการขาว
               และกรมกสิกรรม
                      - กรมการขาว ดําเนินการสํารวจดินที่ จ.กาฬสินธุ โดยมี ดร.สาโรช มนตระกูล เปนหัวเรือใหญ
               (หัวหนาโครงการ)
                      - กรมกสิกรรม ดําเนินการสํารวจดินที่ จ.รอยเอ็ด โดยมี ดร.สมาน พาณิชยพงส เปนหัวเรือใหญ

               ในการสํารวจดินครั้งนี้ ไดรับความชวยเหลือจาก USOM (United States Operations Mission) และไดมีการ
               ดําเนินการสํารวจดินระดับจังหวัดใน จ.กาฬสินธุ และ จ.รอยเอ็ด จนแลวเสร็จ

                      ในป พ.ศ. 2505 ผูเชี่ยวชาญอีกทานหนึ่งเขามาในประเทศไทย คือ Dr.Frank  R. Moormann
               ชาวเนเธอรแลนด เปนผูเชี่ยวชาญขององคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO)

               Dr.Moormann มาเปนที่ปรึกษาของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทานทํางานที่กรมการขาว ตั้งแต
               พ.ศ.2505 โดยประสานงานรวมกับกองกสิกรรมและ
               เทคโนโลยีของกรมกสิกรรม
                      ในป พ.ศ.2506 ปที่กอตั้งกรมพัฒนาที่ดิน

               กองสํารวจที่ดินเปนหนวยงานหนึ่งของโครงสราง
               กรมพัฒนาที่ดิน ประกอบดวย 4 ฝาย ไดแก
               ฝายบริหาร (สารบรรณ) ฝายสํารวจ ฝายวิเคราะหดิน
               และฝายทําแผนที่ทรัพยากรดิน นับวาเปนการจัด

               โครงสรางที่เหมาะสมที่สุด เพราะทําใหสามารถบูรณาการ
               งานสํารวจดินไดอยางรวดเร็ว และมีการประสานงาน
               กันอยางมีประสิทธิภาพเพราะมีอํานาจสั่งการไดหมด
               ในกองเดียวกัน แตภายหลังมีการแยกออกไป
                                                                 ภาพที่ 5    Dr.Frank R. Moormann
               เปนกองตางๆ ทําใหการประสานงาน คอนขางชา                  ผูเชี่ยวชาญของ องคการอาหารและ
               ตางจากโครงสรางแบบเดิม                                      การเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO)


                  100  องคความรูสูปดินสากล 2558
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108