Page 107 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 107

ในป พ.ศ.2527 กรมพัฒนาที่ดินไดปรับโครงสรางใหมโดยตั้งสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 - 12  และ
               มี “ฝายสํารวจจําแนกและวางแผนที่ดินในระดับไรนา” อยูในสํานักงานพัฒนาที่ดิน กําหนดใหทําหนาที่สํารวจ

               ดินอยางละเอียด ใชมาตราสวนไมเกิน 1 : 10,000  แตควรจะเปนมาตราสวน 1 : 4,000  เพื่อที่จะใช
               ประโยชนในการวางแผนอนุรักษดินและน้ําระดับไรนาของเกษตรกร  เพื่อที่จะทําใหผลของงานสํารวจดิน
               ถึงมือเกษตรกรจริงๆ  เพราะการสํารวจดินในระดับประเทศนั้นสวนมากเกษตรกรไมไดรับประโยชนเทาใด
               ฉะนั้น จึงขอใหเราเนนการทํางานไปที่การสํารวจดินอยางละเอียด และขอใหจัดโครงสรางการทํางาน

               ของกรมฯ เพื่อใหเกษตรกรไดรับประโยชนมากที่สุด ตามที่ผมไดเรียนใหทราบ
                      สําหรับตํานานการสํารวจดินกอนป 2527 ผมก็ขอจบเพียงเทานี้ ทานตอไปก็จะมาบรรยายเรื่องความ
               เจริญกาวหนาในการทําแผนที่ของประเทศไทยตอไป ขอบพระคุณมากครับ

                      ผอ.สมศักดิ์ สุขจันทร :  ขอขอบคุณ คุณเฉลียวมากครับ ขอเชิญ ผอ.สุรพล เจริญพงศ ทานจะมาเลา
               ตํานานการสํารวจดินหลังจากป 2527 และเทคนิคในการสอนงานใหกับนองๆ นักสํารวจดิน

               ตอนที่ 2  ตํานานการสํารวจดินหลังจากป 2527  และเทคนิคในการสอนงานนักสํารวจดิน
               โดย ผอ. สุรพล เจริญพงศ


                      ผอ.สุรพล เจริญพงศ  :  กราบเรียนทานอธิบดี
               ทานอดีตอธิบดี ทานรองอธิบดี และนองๆ ผมยินดี
               เปนอยางยิ่งที่ไดรับเกียรติมาเปนสวนหนึ่งของตํานานการ

               สํารวจดิน  สําหรับประวัติของผม ผมเรียนมาทางสํารวจดิน
               จบจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อป พ.ศ.2505
               ผมเปนลูกศิษย ดร.สาโรช มนตระกูล ทําวิทยานิพนธดานการ

               สํารวจดินที่นิคมสรางตนเอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ  สมัยที่
               ผมเรียนนั้น ไมมีแผนที่ทางอากาศ ตองใชแผนที่พื้นฐานมาทํา
               เปนแผนที่ Base Map  หลังจากจบการศึกษา จึงมาทํางานที่
               กองกสิกรรมเคมี แผนกสํารวจดิน เปนแผนกเล็กๆ  ทํางาน
               เปนลูกสายที่ภาคอีสาน กลางวันทํางานหนัก ศึกษาเรียนรู     ภาพที่ 9 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

               งานภาพถายทางอากาศจากหัวหนาสาย สวนชวงกลางคืนก็มี      เสด็จไปที่ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง
               Workshop
                      ผมไดรับเอกสารของกองสํารวจและวิจัยทรัพยากรดิน ชื่อ “5 ทศวรรษ สํารวจดินไทย” ซึ่งมี

               รายละเอียดเกี่ยวกับตํานานการสํารวจดินดีมาก แตขอติงนิดหนึ่งวาเอกสารฉบับนี้ไมปรากฏ วัน เดือน  ปที่
               พิมพ  และยังมีบุคลากรที่ทําประโยชนใหกับงานสํารวจดินอีกหลายทานที่ไมไดกลาวถึงในฉบับนี้ เชน
               Dr.Hari Eswaran ทานเพิ่งจะเสียชีวิตเมื่อปที่แลว ทานมีบทบาทชวยเหลืองานดานสํารวจดิน ใหความ
               ชวยเหลือในการประชุมตางๆ ทําใหพวกเราไดรับความรูมากมาย ทานเปนคนเอเซียแตทํางานที่สหรัฐอเมริกา

               ในกระทรวงเกษตรฯ ทานมีความผูกพันกับพวกเรามาก
                        ในภาพรวม การสํารวจดินหลังจากป 2527 คอนขางสมบูรณแบบ แตระยะตนๆ เครื่องไมเครื่องมือยัง
               ไมคอยทันสมัย ไดรับงบประมาณไมมากเพราะรัฐบาลยังไมเห็นความสําคัญของงานสํารวจดิน  อีกทั้งหนวย
               จําแนกดินซึ่งเปนหัวใจสําคัญของงานสํารวจดินก็ยังคลุมเครือ ซึ่งขณะนั้นเราใชระบบจําแนกดินแบบ  Great

               Soil Group โดยใชคุณสมบัติของดินทางสภาพภูมิประเทศซึ่งเปนขอมูล เชิงคุณภาพ(Qualitative) การจําแนก
               ดินจึงยังไมเปนมาตรฐานเพราะตางคนก็ตางมุมมอง  ตอมาเราใชวิธีการ Seventh Approximation หรือ Soil
               Taxonomy  ซึ่งเปนระบบการจําแนกดินที่เปนที่ยอมรับของตางประเทศทั่วโลก เพราะวาระบบนี้จะใช


                  104  องคความรูสูปดินสากล 2558
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112