Page 104 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 104

ในปนี้เอง Dr.Moormann คิดจะปรับปรุงแผนที่ดินของประเทศไทยใหม โดยใหแลวเสร็จภายในป
               พ.ศ.2510 เพื่อจะเสนอ FAO ตอไป โดยปรับปรุงแผนที่ดินของ Dr.Pendleton ที่ไดเผยแพรไปกอนหนานี้ ใช

               ระบบการจําแนกดินของกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา ที่จัดทําขึ้นในป ค.ศ.1906 และนํามาเผยแพรในป
               ค.ศ.1938 ซึ่งเปนระบบการจําแนกดินในระดับ Great Group โดย Dr.Moormann ไดยึดหลักการจําแนกดิน
               ที่ Dr.R.Dudal  พัฒนาขึ้นในป ค.ศ.1964 เปนการปรับใชระบบการจําแนกดินของกระทรวงเกษตร
               สหรัฐอเมริกาในป ค.ศ.1949 มาเปนระบบของ Dr.Moormann ระบบการจําแนกนี้ นาจะเรียกวาหนวยของ

               แผนที่ดินระดับชุดดิน ชื่อ Majors Soil  of Southeast Asia  ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชในประเทศตางๆ ในเอเซีย
               ตะวันออกเฉียงใต เพราะ Dr.R.Dudal  และ  Dr.Moormann เคยปฏิบัติงานในประเทศเหลานี้มากอน เชน
               ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟลิปปนส เมื่อคิดที่จะพัฒนาแผนที่ดินใหม Dr.Moormann  ก็ไดรวมมือกับ

               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยวาจาง ดร.สันทัด โรจนสุนทร มาเปนผูรวมงาน เนื่องจากมีพื้นความรู
               และประสบการณในการจําแนกดินทางดานธรณีวิทยาและภาษาอังกฤษดี การที่จะเรงจัดทําแผนที่ดิน
               ใหสําเร็จภายใน 4 ป Dr.Moormann ใชวิธีกําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาของแตละภาค ใชงบประมาณ
               ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเลือกพื้นที่ศึกษา (Study Area) ดังนี้
                              - ภาคกลาง  เลือกพื้นที่  กรุงเทพฯ  จ.นนทบุรี  จ.นครสวรรค

                              - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เลือกพื้นที่ จ. ขอนแกน
                              - ภาคเหนือ  เลือกพื้นที่ จ.เชียงใหม
                              - ภาคใต  เลือกพื้นที่ จ.สงขลา

               สาเหตุที่ทหารอเมริกัน ใหกรมพัฒนาที่ดินไปดําเนินการ

               สํารวจสภาพดิน เพราะมีบทเรียนจากสงครามโลก
               ครั้งที่สอง ที่ทหารอเมริกันยกพลขึ้นบก ที่ประเทศ
               ฟลิปปนส เนื่องจากไมไดมีการสํารวจสภาพของ
               พื้นที่ดินกอน ทําใหมีความลําบากในการเคลื่อนยาย

               รถถังขนาดใหญ ทหารอเมริกันถูกโจมตีโดยทหาร
               ญี่ปุน เกิดสูญเสียมากมาย เมื่อทหารอเมริกันได
               บทเรียนไป ครั้งนั้น จึงคิดวาเมื่อสงครามเวียดนาม
               เสร็จสิ้น จะตองศึกษาสภาพของดิน จึงไดใหทางกรม

               พัฒนาที่ดินทําการสํารวจดิน ใชวิธีการเชนเดียวกับที่   ภาพที่ 6 นักสํารวจดินออกภาคสนาม
               Dr.Pendleton ใช โดยศึกษาปจจัยที่ใหกําเนิดดิน กําหนดขอบเขตหรือชนิดของดิน และสามารถทําแผนที่ดิน
               ไดเสร็จภายใน 4 ป ซึ่งเปน หนวยแผนที่ดินในระดับ Great Group
                      หลังจากนั้น Dr.Moormann จึงไดเสนอโครงการไปยัง UNDP  พัฒนาโครงการขึ้นสําหรับกรมพัฒนาที่ดิน

               ซึ่งเรียกวาโครงการ Strengthening  Soil Survey  and Land  Classification ซึ่งเริ่มขึ้นในป พ.ศ. 2510
               มีเปาหมายใหเสร็จสิ้นภายใน 5 ป และดําเนินการแลวเสร็จในป 2516
                      ในชวงการสํารวจดินตามโครงการ Strengthening Soil Survey and Land Classification ไดมี

               การขยายการทําแผนที่ระดับจังหวัดไปในภาคตางๆ ของประเทศ เพื่อใหจังหวัดตางๆ นําไปใชในการวางแผน
               พัฒนาการเกษตรและการชลประทาน โดยเฉพาะโครงการชลประทานเจาพระยาใหญ การจัดทําแผนที่ดิน
               ระดับจังหวัดในแตละภาคนั้นมีมาตราสวนตางกันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนแผนที่ดินระดับจังหวัด
               มาตราสวน 1 : 100,000  สวนภาคกลางจะมีแผนที่โครงการซึ่งมีประมาณ 10 – 12 โครงการ โดยแผนที่
               ในภาคกลางจะมีมาตราสวน 1 : 50,000 และยังมีการทําแผนที่ในระดับชุดดิน และระดับชุดดินสัมพันธ

               คือ Association (ประกอบดวย 2 ชุดดินขึ้นไป) จากนั้นก็ขยายไปยังภาคเหนือ ที่ราบสูงตอนกลาง และภาคใต

                                                                                 ตํานานการสํารวจดิน  101
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109