Page 113 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 113

ภาพที่ 16 โครงการพระราชดําริที่ หวยซอน - หวยซั้ว

                      ผมอยูที่จังหวัดนครพนม ผมจําได ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ ซึ่งเปน ผอ.กองสํารวจดิน ไดไปเยี่ยมซึ่ง
               ตอนนั้นที่นครพนมมีผูกอการรายเยอะมากไมมีใครมาดูแลเรื่องความปลอดภัยใหพวกเราเลย  ปกติจะมี

               อาสาสมัครเขามาดูแล วันหนึ่งนายสมพร กลิ่นพงษา ผูวาราชการจังหวัดนครพนมในสมัยนั้น ทานมาทานขาว
               ดวย ทานเปนนักเรียนสวนกุหลาบรุนเดียวกับ ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ เราก็เลยเรียนทานผูวาฯ ไปวาพวกเรา
               ลําบาก  ไปทํางานไมมีใครคุมกันเลย  ผูวาฯ เลยจัดอาสาสมัครมาให แตจริงๆ แลวไมคอยมีอันตราย ที่อยูกัน

               มาไดเพราะมนุษยสัมพันธดี กลุมเราอยูที่ไหนก็จะมีชาวบานมาคุยกับเรา กลุมแรกที่มาคุยกับเราคือครู
               แคมปนักสํารวจดินของเราเปน  Bar Open  ใครไมมีอะไรกิน ก็มาแวะแคมปสํารวจดินไมมีผิดหวัง
               ฉะนั้น จึงเปนที่รูจักของชาวบานเปนอยางดี
                      จากงานที่เราทําที่ภาคอีสาน ผมก็เลยไดทํางานโครงการพระราชดําริที่ หวยซอน-หวยซั้ว สาธารณรัฐ

               ประชาธิปไตยประชาชนลาวเมื่อป พ.ศ.2537 ที่สรางสะพานมิตรภาพไทย - ลาว พระบาทสมเด็จ
               พระเจาอยูหัวฯ ก็เลยมีพระราชดําริจัดตั้งศูนยศึกษาคนควาพัฒนาเพื่อการเกษตรของหวยซอน - หวยซั้วขึ้น
               ชวงแรกเปนการรวมมือกัน 3 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย ไทย ลาว โดยออสเตรเลีย เปนผูสนับสนุนรายใหญที่จะ
               สรางสะพานขามแมน้ําโขง แตชวงหลังๆ ออสเตรเลียก็ถอนตัวออกไป กรมฯไดรับมอบหมายใหหาพื้นที่เพื่อจะ

               ตั้งศูนยศึกษาคนควาพัฒนาเพื่อการเกษตรของโครงการฯ หวยซอน - หวยซั้ว พื้นที่แปลงแรกที่ สปป.ลาว
               จัดสรรใหมีการคมนาคมสะดวก อยูใกลถนนใหญ เปนพื้นที่ดอน แตผมมองวาหากจะใชพื้นที่แปลงนี้ทําแปลง
               สาธิตก็จะลําบาก เพราะพื้นที่ดินเปนรูปแบบ(pattern)  เดียว ไมมีความหลายหลายของพื้นที่ลุม พื้นที่ดอน ที่
               จะใชในการศึกษาเรื่อง Soil management  หรือ เรื่องการทํานา เหตุผลที่ สปป.ลาว ไมไดใหพื้นที่ลุม

               เนื่องจาก สปป.ลาวมีพื้นที่ราบทั้งประเทศ 2 แหงเทานั้นที่ใชปลูกขาวเลี้ยงคนทั้ง 8 ลานคน คือ ที่ราบเวียง
               จันทร และที่ราบสะหวันนะเขต จึงหวงพื้นที่ลุมมาก เราจึงทําเรื่องไปขอ สปป.ลาว วาขอพื้นที่มีที่ทั้งที่ดอนและ
               ที่ลุม  เราตองมี Tripified Soil Catena ของดินภาคอีสานที่เปนเหมือนคัมภีรในสมัยนั้น ซึ่งจะมี ชุดดินยโสธร
               ชุดดินวาริน   ชุดดินโคราช ชุดดินรอยเอ็ด ในที่สุดเราก็หาไดพื้นที่ 300 กวาไร ก็มาแบงกันระหวางกรมตางๆ

               เพื่อจัดตั้งศูนยฯ หวยซอน - หวยซั้ว
                      เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2537 พระบาทสมเด็จเจาอยูหัวฯ เสด็จพระราชดําเนินไปเปดศูนยศึกษาคนควา
               พัฒนาเพื่อการเกษตรของหวยซอน - หวยซั้ว  ขณะนั้นสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ มีโครงการของทาน
               อยูที่นั่นแลว เปนโครงการเด็กกําพรา อยูที่หลัก 67 ที่บานหวยคง  สวนบานหวยซอน - หวยซั้ว

               อยูหลักที่ 22 ผมจําไดวาวันที่ 6 เมษายน 2537  ขณะที่เตรียมการรับเสด็จนั้น ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล  ทานมา
               บอกวาพระบาทสมเด็จเจาอยูหัวฯ สงสัยวาทําไมบอเลี้ยงปลาที่โรงเรียนเด็กกําพราของสมเด็จพระเทพฯ

                  110  องคความรูสูปดินสากล 2558
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118