Page 105 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 105

ชวงที่มีโครงการ UNDP ที่ประเทศที่สาม ก็ยังมี
               โครงการชวยเหลืออีกทางหนึ่งจากประเทศสหรัฐอเมริกา
               อีกสวนหนึ่งเปนความชวยเหลือในดานเครื่องมือ การ

               สํารวจดินในแตภาคจะมีผูเชี่ยวชาญการสํารวจดินจาก
               FAO มาใหคําปรึกษางานสํารวจดิน งานแผนที่ งาน
               วิเคราะหดิน ตลอดจนเครื่องไมเครื่องมือและยานพาหนะ
               จํานวนมาก  และอีกสวนหนึ่งเปนความชวยเหลือในดาน

               การพัฒนาบุคลากร คือ บุคลากรดานสํารวจและจําแนกดิน
               ไดรับทุนไปศึกษาดานสํารวจจําแนกดินในระดับปริญญาตรี
               โท และ เอก และระดับประกาศนียบัตร ทานที่นั่งอยูในที่นี้  ภาพที่ 7 แผนที่ดินในมาตราสวน 1 : 100,000

               หลายๆ ทานไดรับทุนจากโครงการ Strengthening Soil
               Survey  and Land  Classification ไปศึกษาตอที่สหรัฐอเมริกา เนเธอรแลนด เบลเยี่ยม อังกฤษ ไปศึกษา
               ในเรื่อง Soil Survey เรื่อง Aerial Photo Interpretation for Soil Survey และอื่นๆ  เพื่อที่นํามาใชปรับปรุงงาน
               ดานการสํารวจจําแนกดิน
                      โครงการ Strengthening Soil  Survey and  Land Classification ทําใหงานสํารวจดินมีความ

               กาวหนาทั้งดานคุณภาพและปริมาณ เผยแพรไปยังสวนราชการตางๆ สหรัฐอเมริกาไดสงผูที่มีความรู
               ความเชี่ยวชาญดานวินิจฉัยคุณภาพของดินมาปฏิบัติงาน เพราะการสํารวจดินอยางเดียวนั้นคงไมพอ ตองมี
               การวินิจฉัยคุณภาพเพื่อหากําลังการผลิตของดินแตละชุด และเราไดสรางคูมือการวินิจฉัยคุณภาพดินของภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือ และวางวิธีการที่จะใหมีการทําแผนที่ชุดดินอยางละเอียดเพื่อเปน Guide line แตเปนที่
               นาเสียดายวางานนั้นไดถูกยกเลิกไปโดยโครงสรางของกรมพัฒนาที่ดินเอง  การศึกษากําลังผลิตของดิน
               จึงตองถูกยกเลิกไปดวย
                       ผมจําไดวาการเลี้ยงฉลองการสิ้นสุดโครงการ Strengthening Soil Survey and Land Classification

               ที่โรงแรมรีเจนท เจาหนาที่ที่เปนตัวแทนจาก FAO  ไดกลาวชมเชยกรมพัฒนาที่ดินอยางมาก วาเปนโครงการ
               ที่สรางความสําเร็จอยางสูงเมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่นๆ คือคุณภาพของงาน ปริมาณของงานดี
               มีความรวดเร็ว และการพัฒนาบุคลากรเปนไปไดอยางดี สามารถสรางบุคลากรดานการสํารวจดินไดจํานวนมาก
               มีการปรับปรุงการบรรยายลักษณะของชุดดิน เมื่อสิ้นสุดโครงการแลว สามารถจัดทําคําบรรยายลักษณะของชุดดินได

               สําเร็จพอสมควร มี 2 สวน คือ สวนที่เปนแผนสีขาว มีการตั้งชื่อชุดดินแลวสําหรับแผนที่ที่มีขอมูลมากเพียงพอ
               กับอีกสวนหนึ่งที่เปนแผนสีเหลืองที่รอการตั้งชื่อถาวรโดยตองศึกษารายละเอียดเฉพาะทางเพิ่มเติมกอนที่จะให
               ชื่อตอไป  ผูเชี่ยวชาญที่มาแทน Dr.Moormann ในชวง 2 – 3 ปหลัง ไดใหความเห็นวาประเทศไทยจะตอง
               สรางคูมือการสํารวจดินของประเทศไทย ก็ไดมอบหมายใหผมกับ Dr.Frank J. Dent จัดทําคูมือการสํารวจดิน

               ของประเทศไทย จนสําเร็จกอนที่จะสิ้นสุดโครงการ นับเปนคูมือฉบับแรกของประเทศไทยที่เปนประโยชน
               อยางยิ่งตองานสํารวจดินในขณะนั้น
                      หลังจากโครงการสิ้นสุดแลว กองสํารวจที่ดิน ก็มอบหมายให ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ กับ คุณชิงชัย

               จงภักดี ศึกษาปรับปรุงแผนที่ดินที่ Dr.Moormann กับ ดร.สันทัด โรจนสุนทร จัดทําไว โดยใหใชหนวย
               แผนที่ดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Taxonomy)  ซึ่งระบบนี้ไดถูกนํามาทดลองใชในประเทศไทย
               ตั้งแตป 2510 และไดใชมาจนกระทั่งถึงในปจจุบัน
                      อยากจะยอนกลับไปเรื่องระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Taxonomy) วาเกิดขึ้นมาไดอยางไร หลังจาก
               สหรัฐอเมริกาไดพัฒนาระบบการจําแนกดินขึ้นในป ค.ศ.1949 และใชเวลานานในการพัฒนา Soil

               Taxonomy  โดยเริ่มตั้งแตป ค.ศ.1951 โดยกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกาไดมอบหมายให Dr.Guy

                  102  องคความรูสูปดินสากล 2558
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110