Page 102 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 102

Dr.Pendleton ใชทฤษฎีของ Hans Jenny

               ในการกําหนดขอบเขตของดินในประเทศไทย และได
               จัดทําแผนที่ดินฉบับแรก มาตราสวน  1 : 2,500,000
               เปนลักษณะของ Soil Group คือรวมชุดดินที่มีลักษณะ
               คลายคลึงกันมาไวในกลุมแผนที่เดียวกัน  มีหนวยของ

               แผนที่ทั้งประเทศประมาณ 21 หนวย การกําหนดชื่อ
               ของหนวยแผนที่ดินนั้น Dr.Pendleton ใชชื่อของ
               สถานที่ ที่ทานพบดินเปนครั้งแรก แลวตามดวยลักษณะ
               ของดิน เชน  Bangkok clay  (ดินเหนียวกรุงเทพ)

               และมีชื่อเรียกตางๆ  อีก 21 หนวย  ปจจุบันชุดดินใน   ภาพที่ 2 ทานผูตรวจฯ เฉลียว แจงไพร
               Soil  Group  มีหนวยชุดดินที่สํารวจในภายหลังอีก               ขณะออกภาคสนาม

               เปนจํานวนมาก

                      ตัวอยางเชน ดินโคราช (Korat fine sandy loam) เมื่อเรามาสํารวจในภายหลัง พบวามีชุดดินตางๆ
               รวมอยูในนั้น เชน ชุดดินยโสธร ชุดดินสะตึก ชุดดินวาริน ชุดดินหลมสัก ชุดดินโพนพิสัยฯลฯ

               ซึ่ง Dr.Pendleton ไมไดแยกออกมาเพราะมาตราสวนของแผนที่มีขนาดเล็ก แตในบันทึกการสํารวจนั้น
                                                            Dr.Pendleton บันทึกไวอยางละเอียดวาในกลุมดินที่
                                                            ทานเรียกวาดินโคราชนั้น มีดินอะไรที่แตกตางกัน
                                                            แมศักยภาพในการใชประโยชนดิน จะใกลเคียงกัน แต

                                                            สันฐานของดิน(Soil  Morphology) นั้นแตกตางกัน
                                                            อยางเห็นไดชัด โดยเฉพาะสีของดิน เชน Bangkok
                                                            Clay  มีดินรวมอยูหลายชุด เชน ชุดดินรังสิต ชุดดิน

                                                            องครักษ ชุดดินจันทบุรี การตั้งชื่อดินโดยใชชื่อสถานที่
                                                            แลวกํากับดวยชั้นอนุภาคดินของเนื้อดินบนนั้นเพื่อชวย
                                                            ในการจดจํานั้น แมวา จะไมถูกตองตามหลักวิชา แต
                                                            Dr.Pendleton ก็ใชวิธีนี้เพื่อที่จะทําใหพวกเรา
                                                            จําได ฉะนั้นเรายกให Dr.Pendleton เปนผูที่ได
                       ภาพที่ 3 แผนที่ดินของประเทศไทย
                                                            พยายามสํารวจดินของประเทศตามปจจัยที่ใหกําเนิด
               ดิน  และใชวิธีนี้จัดทําแผนที่ดินฉบับแรกขึ้นมาและไดใชประโยชนกันอยางกวางขวาง  และมีการจัดทําแผนที่
               Exploration Soil  Survey  เปนการสํารวจสภาพของดินทั่วไปของประเทศ เพื่อใหไดขอมูลดินอยางกวางๆ

               สําหรับใชในการวางแผนการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในดานการเกษตร
                      Dr.Pendleton ไดเก็บตัวอยางดินและวิเคราะหดินเปนจํานวนมาก ซึ่งไดมีการรวบรวมผลงานของ
               ทานไวเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับนักสํารวจดินรุนหลัง Dr.Pendleton ทานเขามาเมืองไทย เมื่อป พ.ศ.2478
               กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหวางสงครามโลกทานถูกจับเปนเชลยศึกของญี่ปุนแลวถูกแลกเปลี่ยนไปอเมริกา

               สองครั้ง Dr.Pendleton กลับมาประเทศไทยครั้งสุดทายในป พ.ศ.2489 และเสียชีวิตในป พ.ศ.2500
               ผลงานของ Dr.Pendleton เปนพื้นฐานสําหรับนักสํารวจดินรุนตอมาไดใชเปนพื้นฐานในการสํารวจดิน
               ใหมีความละเอียดมากขึ้น ในชวงที่ Dr.Pendleton กลับไปสหรัฐอเมริกา 2 ครั้งนั้น ดร.สาโรช มนตระกูล
               ไดมาทํางานตอจาก Dr.Pendleton




                                                                                 ตํานานการสํารวจดิน  99
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107