Page 101 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 101

นายสมศักดิ์ สุขจันทร ผูอํานวยการกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน ผูดําเนินการเสวนาไดเกริ่นนําวา
               “วันนี้ ถือวาเราจะไดยอนไปในตํานานในอดีตไมนอยกวา 50 ป ทานวิทยากรผูมีเกียรติที่กรมฯ ไดเชิญมาใน

               วันนี้ ลวนแลวแตมีความเชี่ยวชาญจากการที่แตละทานไดทํางานอยางจริงจังอยางมุงมั่น จนเกิดเปนตํานาน
               ขึ้นมา ทุกสิ่งทุกอยางกวาจะเปนตํานานนั้น ตองผานพนเวลาในการทําจริง มีทั้งดีและไมดี แตวาตํานานที่จะเลา
               ในวันนี้ลวนแลวแตเปนเรื่องจริงที่เปนเรื่องดี ผมเองเปนคนรุนหลัง แมจะเคยสดับรับฟงเรื่องราวตางๆ มาบาง
               แตก็ไมละเอียดถี่ถวน วันนี้จึงเปนโอกาสอันดีที่จะมีโอกาส รับฟงพี่ๆ ซึ่งแตละทานมีองคความรูจากการทํางาน

               สํารวจดินมาไมต่ํา 50 ป รวม 4 ทานเปนสองรอยป  ซึ่งเวลาเพียงครึ่งวันก็คงจะเลาไมหมด ทานแรกที่ผมจะ
               เรียนเชิญมาเลาเรื่องงานสํารวจดินของประเทศไทย คือ ทานอดีตผูตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
               ทานเฉลียว แจงไพร”



               ตอนที่ 1  ตํานานการสํารวจดินของประเทศไทย
                        โดย นายเฉลียว  แจงไพร อดีตผูตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

                      ทานอดีตผูตรวจราชการฯ เฉลียว แจงไพร : สวัสดีผูเขารวมการเสวนาทุกทาน ผมขอขอบคุณทานอธิบดี

               ที่ไดใหผมมาเปนวิทยากรในวันนี้ ผมไดแจงกับทางผูดําเนินรายการวาการเสวนาวันนี้ควรจะเปนตํานานการสํารวจ
               ดินเฉพาะในประเทศไทย วันนี้ผมจะพูดเปนสองสวน สวนแรก คือ การสํารวจดินกอนกอตั้งกรมพัฒนาที่ดิน
               ในป พ.ศ.2506 และอีกสวนหนึ่ง คือ การสํารวจดินและการทําแผนที่ดินหลังจากกอตั้งกรมพัฒนาที่ดิน
                      สําหรับการสํารวจดินในประเทศไทยกอนตั้งกรมพัฒนาที่ดิน สมัยนั้นกระทรวงเกษตรและสหกรณ

               มีงานสํารวจดิน 3 หนวยงาน  คือ กรมขาว กรมกสิกรรม และกรมชลประทาน  การสํารวจดินในประเทศไทย
               เริ่มในป พ.ศ.2478  โดยมี Dr.Robert Larimore Pendleton นักวิทยาศาสตรทางดินและการเกษตร ชาวอเมริกัน
               ผูเชี่ยวชาญดานดินและการเกษตร เปนที่ปรึกษาของกระทรวงเกษตรฯ (สมัยนั้นชื่อกระทรวงเกษตราธิการ)

                                                             Dr.Pendleton  เริ่มทําการสํารวจดินโดยทําแผนที่ดิน
                                                             คอนขางหยาบในมาตราสวน 1 :  2,500,000  และ
                                                             เปนแผนที่ขนาดเล็ก ในสมัยนั้นการคมนาคมคอนขาง
                                                             ลําบาก ใชทางรถไฟ ใชเกวียนในการขนสัมภาระ
                                                             การสํารวจ ใชการลองแพ  Dr.Pendleton ใชแผนที่

                                                             หลายชนิดประกอบการจัดทําแผนที่ดิน ไดแก แผนที่
                                                             ทางธรณีวิทยา (Surface  Rocks  Map)  ของประเทศไทย
                                                             ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม  แผนที่

                                                             ของกรมปาไม แผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร
                    ภาพที่ 1 Dr.Robert Larimore Pendleton    และใชขอมูลดานสภาพภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา
                  นักวิทยาศาสตรทางดินและการเกษตรชาวอเมริกัน

                      Dr.Pendleton ถือหลักทฤษฎีที่วาลักษณะดินยอมเกิดจากวัตถุตนกําเนิด ดินที่เกิดจากสภาพปาไมที่
               เหมือนกันยอมจะมีลักษณะเหมือนกันหรือคลายคลึงกัน ตามทฤษฎีของ Hans Jenny  เรื่อง Soil Forming

               Factors ประกอบดวย 5 ปจจัย คือ
                       1. สภาพภูมิอากาศ  (Climate)
                      2. พืชพันธุ  (Vegetation)
                      3. ธรณีสันฐานภูมิประเทศ(Topography)

                      4. วัตถุตนกําเนิด (Parent material)
                      5. ระยะเวลาการเกิดดิน (Time)

                    98  องคความรูสูปดินสากล 2558
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106