Page 40 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 40

29


                  3.2 ดินบนพื้นที่สูง
                         ดินบนพื้นที่สูงจะมีลักษณะและความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของ

                  หินต้นก าเนิด ดินในสภาพทั่วไปจะเป็นแบบดินภูเขา มีความเป็นกรดด่างผันแปรระหว่าง  4.5-5.6  ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุสูงร้อยละ 3.5-5.0 ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสและซัลเฟอร์ที่เป็นประโยชน์ในเกณฑ์ต่ ามากไม่เพียงพอกับ
                  ความต้องการในการเจริญเติบโตของข้าว แต่ในขณะเดียวกันปริมาณธาตุโพแทสเซียมและแมงกานีสที่แลกเปลี่ยน
                  ได้มีมาก เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วน มีความหนาแน่นรวมประมาณ 1.0 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งต่ ามาก

                  แสดงว่ามีความโปร่งพรุน อัตราการแทรกซึมน้ าสูงและน้ าขังได้ไม่นาน (ส านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร, 2556)
                         กลุ่มชุดดินที่ 62 ดินประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ดินที่พบในบริเวณ
                  ดังกล่าวนี้มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิด
                  ของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก้อนหิน หรือหินพื้นโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วย

                  ป่าไม้ประเภทต่าง ๆ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือป่าดิบชื้น หลายแห่งมีการท าไร่เลื่อนลอย โดยปราศจาก
                  มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ า ซึ่งเป็นผลท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินพื้นโผล่
                  ได้แก่ชุดดินที่ลาดชันเชิงซ้อน (Sc)  กลุ่มชุดดินนี้ไม่ควรน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนื่องจากมีปัญหาหลาย
                  ประการที่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ควรสงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติ เพื่อรักษาแหล่งต้นน้ าล าธาร พื้นที่ภูเขา

                  ลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีการกัดกร่อนของดินได้ง่าย (กลุ่มชุดดินที่ 62, 2556)
                         ดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนเป็นดินบนพื้นที่ภูเขา รวมถึงที่ลาดเชิงเขาและที่ราบหุบเขาที่มีขนาดพื้นที่เล็ก
                  มากไม่สามารถกันแยกขอบเขตออกบนแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 ได้ โดยทั่วไปมีความลาดชันมากกว่า 35

                  เปอร์เซ็นต์ ลักษณะดินผันแปรไปตามชนิดของหิน มีทั้งที่เป็นดินตื้นและดินลึก บางแห่งมีหินโผล่มาก ลักษณะดิน
                  ง่ายต่อการถูกชะล้างพังทลาย ง่ายต่อการเกิดดินถล่ม ง่ายต่อการเกิดน้ าป่าไหลหลากเมื่อฝนตกหนัก ยากต่อการไถ
                  พรวน เป็นอันตรายต่อการท างานของคนสัตว์และเครื่องจักร ควรหลีกเลี่ยงท าการเกษตรกรรมในพื้นที่นี้ แต่สมควร
                  กันไว้เป็นพื้นที่ป่าเพื่อรักษาแหล่งต้นน้ าล าธาร หากมีความจ าเป็นจะต้องใช้ปลูกพืชควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและ
                  น้ า และเลือกชนิดพืชที่จะปลูกให้เหมาะสม เช่น ควรปลูกพวกไม้ยืนต้นหรือไม้ผลที่มีการไถพรวนดินน้อยที่สุด และ

                  ควรปลูกพืชคลุมดินระหว่างแถวพืชเพื่อปกป้องไม่ให้ดินถูกชะล้างไปโดยง่ายเมื่อมีฝนตกลงมา  (กองส ารวจและ
                  จ าแนกดิน, 2544)
                         ดินในเขตภูเขาสูง (Slope complex) จะครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือมากกว่าร้อยละ 80 ซึ่งเป็นดินที่มีเนื้อที่

                  มากที่สุด ลักษณะดินในเขตนี้จะเป็นดินตื้น ไม่มีการพัฒนาชันดินล่าง มีเนื้อดินเป็นดินร่วนและดินเหนียว ส่วนใหญ่
                  มีเศษกรวดและเศษหินปน มีอินทรียวัตถุประเภทใบไม้และกิ่งไม้ที่สลายตัวในระดับต่าง ๆ คลุกเคล้ารวมอยู่ด้วย ดิน
                  ส่วนใหญ่จะอุดมสมบูรณ์ในระยะแรกเนื่องจากมีการสลายตัวของแร่ธาตุของแร่และหินจากภูเขาเป็นธาตุอาหารเติม
                  เต็มอยู่ตลอดเวลา แต่ดินในเขตนี้จะไม่อยู่กับที่และไม่มีโอกาสพัฒนาชั้นดิน และมีการสูญเสียธาตุอาหารรวดเร็ว

                  เนื่องจากถูกกระบวนการชะล้าง กระบวนการทรุดถล่ม และเลื่อนไหล น าวัตถุต้นก าเนิดดินและแร่ธาตุให้
                  เคลื่อนย้ายจากที่สูงลงสู่ที่ต่ าตลอดเวลา ดินสวนใหญ่จังจัดอยู่ในอันดับดินเอนทิซอลส์ (Entisols) ดินในเขตภูเขาสูง
                  หรือบนพื้นที่สูงส่วนใหญ่ได้แก่ ดินป่าดิบเขา เป็นดินที่มีความลึกมาก ส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายค่อนข้างเหนียว
                  ซึ่งมีการเกาะยึดเมล็ดดินค่อนข้างต่ า ง่ายต่อการพังทลาย มีความเป็นกรดเป็นด่าง ประมาณ 5-6.5 มีความอุดม

                  สมบูรณ์ดินต่ า ได้แก่ ดินบริเวณที่ลาดเขาและที่สูงเป็นดินที่เกิดจากการผุพังของหิน เนื้อดินมีทั้งละเอียด ปานกลาง
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45