Page 37 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 37
26
ผลการวิเคราะห์ดินก่อนด าเนินงาน ก่อนการด าเนินงานก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ได้มีการ
ตรวจสอบคุณภาพดิน โดยเก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ที่จะก่อสร้างส่งวิเคราะห์ ในชุดดินที่มีมากที่สุดและรองลงมาซึ่ง
ประกอบด้วยดินคล้ายดินลาดหญ้า และดินด่านซ้าย รองลงมาคือชุดดินลาดหญ้า (Ly) ชุดดินวังน้ าเขียว (Wk) และ
ชุดดินด่านซ้าย (Ds) โดยเก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ที่จะก่อสร้างส่งวิเคราะห์ พบว่า ดินคล้ายดินลาดหญ้า มีสภาพ
ความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3) มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (1.0 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ า
(7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีปริมาณต่ า (27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ดินคล้ายดิน
ด่านซ้ายมีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.2) มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (0.8 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีปริมาณต่ า (10 และ 25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ ชุดดิน
ด่านซ้าย (Ds) มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.2) มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (0.7 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัส
ที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ต่ า (8 และ 27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ) ชุดดินวัง
น้ าเขียว (Wk) มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3) มีปริมาณอินทรียวัตถุปานกลาง (2.1 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ า (7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ปานกลาง ( 45
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ส่วนชุดดินลาดหญ้า (Ly) มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.2) มีปริมาณอินทรียวัตถุปาน
กลาง (1.7 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ปานกลาง
(14 และ 40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ) ดังรายละเอียดในตารางที่ 6
ตารางที่ 2.6 ผลการวิเคราะห์ดินก่อนด าเนินงาน
สมบัติทางเคมีที่ส าคัญ
ชุดดิน pH OM. P K
(%) (mgkg-1) (mg/kg-1)
ชุดดินลาดหญ้า (Ly) 5.2 1.7 14 40
ชุดดินวังน้ าเขียว (Wk) 5.3 2.1 7 45
ชุดดินด้านซ้าย (Ds) 5.2 0.7 8 27
ดินคล้ายดินลาดหญ้า 5.3 1.0 7 27
ดินคล้ายดินด่านซ้าย 5.2 0.8 10 25
2.5 การวิเคราะห์สภาพพื้นที่
โครงการที่มีกิจกรรมการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีหลักเกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ ดังนี้
2.5.1 เป็นพื้นที่ที่มีปัญหาในด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น พื้นที่มีความลาดชัน มีปัญหาด้านการ
ชะล้างพังทลายของดิน ดินตื้น ฯลฯ
2.5.2 เป็นพื้นที่ตัวแทนเพื่อให้เกษตรกรข้างเคียงได้ศึกษาวิธีการแก้ไขปัญหา
2.5.3 เกษตรกรให้ความร่วมมือ
2.5.4 เป็นพื้นที่ที่เกษตรกรใช้ประโยชน์ที่ดินแล้ว แต่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าหรือระบบ
การปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ าในระบบเกษตร
การวิเคราะห์พื้นที่ด าเนินการในพื้นที่เป้าหมายเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาในด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ